ประตูชัยฝรั่งเศส (ฝรั่งเศส: Arc de triomphe de l'Étoile) เป็นอนุสรณ์สถานที่สำคัญในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ตั้งอยู่กลางจัตุรัสชาร์ลส์ เดอ โกลล์ (Place Charles de Gaulle) หรือเป็นที่รู้จักกันในนาม จัตุรัสแห่งดวงดาว (Place de l'Étoile) อยู่ทางทิศตะวันตกของชองป์-เซลิเซ่ส์ ประตูชัยแห่งนี้สร้างขึ้นเพื่อเป็นการสดุดีวีรชนทหารกล้าที่ได้ร่วมรบเพื่อประเทศฝรั่งเศส โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสงครามนโปเลียน และในปัจจุบันยังเป็นสุสานของทหารนิรนามอีกด้วย
ประตูชัยนี้เป็นส่วนหนึ่งของ "แนวเส้นตรงทางประวัติศาสตร์" (L'Axe historique) ซึ่งเป็นถนนเส้นตรงจากสวนพิพิธภัณฑ์ลูฟร์ไปยังชานเมืองปารีส ประตูชัยแห่งนี้ออกแบบโดยฌอง ชาลแกร็งในปี พ.ศ. 2349 โดยมียุวชนเปลือยชาวฝรั่งเศสกำลังต่อสู้กับทหารเยอรมัน เต็มไปด้วยเคราและใส่เกราะเป็นสัญลักษณ์เพื่อเป็นการปลุกใจ และเป็นอนุสรณ์สถานจนกระทั่งสงครามโลกครั้งที่ 1
ประตูชัยฝรั่งเศสมีความสูง 49.5 เมตร (165 ฟุต) กว้าง 45 เมตร (148 ฟุต) และลึก 22 เมตร (72 ฟุต) เป็นประตูชัยที่ใหญ่เป็นอันดับสองของโลกที่ปรากฏอยู่ในปัจจุบัน[1] แบบของประตูชัยฝรั่งเศสนี้ได้แนวความคิดมาจากประตูชัยไตตัส ประตูชัยฝรั่งเศสมีความใหญ่มาก เพราะหลังจากมีการสวนสนามในปรุงปารีสเมื่อปี พ.ศ. 2462 ชาร์ลส์ โกดฟรัว ได้ขับเครื่องบินนีอูปอร์ต (Nieuport) ผ่านกลางประตูชัยฝรั่งเศสเพื่อเป็นการสดุดีเหล่าทหารอากาศที่ได้เสียชีวิตในสงครามโลกครั้งที่ 1
ประวัติ
ประตูชัยฝรั่งเศสเป็นหนึ่งในอนุสรณ์สถานที่โด่งดังที่สุดแห่งหนึ่งของกรุงปารีส ได้ถูกมอบหมายให้สร้างในปี พ.ศ. 2349 หลังจากจักรพรรดินโปเลียนที่ 1ได้รับชัยชนะในยุทธการเอาสเตอร์ลิทซ์ กว่าจะวางรากฐานของการก่อสร้างก็ใช้เวลาเกือบ 2 ปีไปแล้ว และในปี พ.ศ. 2353 เมื่อจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 เสด็จกรุงปารีสจากทางทิศตะวันตกพร้อมด้วยเจ้าสาว อาร์คดัชเชสมารี หลุยส์แห่งออสเตรีย ประตูชัยฝรั่งเศสก็ถูกสร้างขึ้นด้วยไม้ในแบบจำลองเท่านั้นเอง สถาปนิกฌอง ชาลแกร็งได้เสียชีวิตลงในปี พ.ศ. 2354 ดังนั้นอูยงจึงได้ดูแลงานนี้ต่อมา ในช่วงราชวงศ์บูร์บงฟื้นฟู การก่อสร้างได้หยุดชะงักลงและไปเสร็จสิ้นในรัชสมัยพระเจ้าหลุยส์-ฟิลิปป์ ในระหว่าง พ.ศ. 2376 - พ.ศ. 2379 โดยสถาปนิกคือกูสต์ ต่อมาคืออูโยต์ ภายใต้การดูแลของหลุยส์-เอเตียนน์ เอริการ์ต เดอ ตูรี (Louis-Étienne Héricart de Thury)
การออกแบบ
ตั้งแต่การล่มสลายของจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 ในปี พ.ศ. 2358 แล้ว ประตูชัยได้กลายเป็นสัญลักษณ์แห่งสันติ ซึ่งได้มีการเฉลิมฉลองกันในปีเดียวกันนั้นด้วย
แบบของประตูชัยนั้น ฌอง ชาลแกร็งเป็นผู้ออกแบบ ในรูปแบบศิลปะคลาสสิคใหม่ ที่ได้ดัดแปลงมาจากสถาปัตยกรรมโรมันโบราณ ช่างแกะสลักที่สำคัญของประเทศฝรั่งเศสนั้นก็ได้มีส่วนร่วมในรูปแกะสลักของประตูชัยฝรั่งเศสด้วย เช่น ฌอง-ปีแอร์ กอร์โตต์, ฟรองซัวส์ รูด, อองตวน เอเตกซ์, เจมส์ ปราดีเยร์และฟิลิปป์ โฌเซฟ อองรี ลาแมร์ รูปแกะสลักที่สำคัญไม่ได้เป็นลวดลายยาวบนกำแพง แต่เป็นรูปแกะสลักลอยตัวที่เป็นสัญลักษณ์แห่งชัยชนะติดกับตัวประตูชัย
Le Départ de 1792 (เรียกว่า La Marseillaise) โดยฟรองซัวส์ รูด
La Résistance de 1814 โดยอองตวน เอเตกซ์
La Paix de 1815 โดยอองตวน เอเตกซ์
การดูแลรักษา
ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1960 ประตูชัยฝรั่งเศสได้มีสีดำขึ้น เนื่องจากถูกเขม่าถ่านหิน ต่อมาในช่วงปี พ.ศ. 2508 - พ.ศ. 2509 ประตูชัยได้ถูกทำความสะอาดโดยเครื่องพ่นทราย ในปัจจุบันคราบสีดำเริ่มก่อตัวขึ้นมาใหม่อีกครั้งหนึ่ง
การเข้าชม
การเข้าสู่ประตูชัยด้วยการเดินเท้านั้นคือผ่านทางเดินใต้ดิน ถ้าเดินข้างบนมักจะไม่ปลอดภัยเนื่องจากจราจรอันคับคั่งบริเวณจัตุรัสชาร์ลส์ เดอ โกลล์ ประตูชัยจะมีลิฟต์ 1 ตัว นักท่องเที่ยวสามารถเดินขึ้นบันได 284 ขั้นเพื่อขึ้นสู่ยอดประตูชัยหรือสามารถขึ้นลิฟต์ดังกล่าวและขึ้นบันไดอีก 46 ขั้นได้เหมือนกัน บนยอดของประตูชัยเป็นสถานที่ชมวิวได้สวยที่สุดแห่งหนึ่งของกรุงปารีส เนื่องจากสามารถเห็นถนนใหญ่ 12 สายมาบรรจบกันยังประตูชัย (จัตุรัสชาร์ลส์ เดอ โกลล์) ได้ด้วย นักท่องเที่ยวสามารถขึ้นรถไฟฟ้าแอร์เออแอร์หรือรถไฟฟ้าปารีสได้ โดยลงที่สถานีชาร์ลส์ เดอ โกลล์-เอตวล
Arc de Triomphe
The Arc de Triomphe is a monument in Paris that stands in the centre of the Place Charles de Gaulle, (also known as the Place de l'Étoile), at the western end of the Champs-Élysées.[1] Officially, it is the Arc de Triomphe de l'Étoile, as the smaller Arc de Triomphe du Carrousel exists nearby. The triumphal arch honours those who fought for France, particularly during the Napoleonic Wars. On the inside and the top of the arc there are all of the names of generals and wars fought. Underneath is the tomb of the unknown soldier from World War I.
The Arc is the linchpin of the historic axis (Axe historique) — a sequence of monuments and grand thoroughfares on a route which goes from the courtyard of the Louvre Palace, to the Arche de la Défense. The monument was designed by Jean Chalgrin in 1806, and its iconographic program pitted heroically nude French youths against bearded Germanic warriors in chain mail. It set the tone for public monuments, with triumphant patriotic messages, until World War I.
The monument stands 50 m (160 ft) in height, 45 m (148 ft) wide and 22 m (72 ft) deep. The large vault is -29.19 m (−95.8 ft) high and 14.62 m (48.0 ft) wide. The small vault is 18.68 m (61.3 ft) high and 8.44 m (27.7 ft) wide. It is the second largest triumphal arch in existence.[2] Its design was inspired by the Roman Arch of Titus. The Arc de Triomphe is so colossal that three weeks after the Paris victory parade in 1919, marking the end of hostilities in World War I, Charles Godefroy flew his Nieuport biplane through it, with the event captured on newsreel.
History
There was a pre-Napoleonic (1758) proposal by Charles Ribart for an elephant-shaped building on the location of the current arch.
Avenues radiate from the Arc de Triomphe in Place de l'Étoile.
The Arc de Triomphe from the Place Charles de GaulleIt is located on the right bank of the Seine River. It forms the backdrop for an impressive urban ensemble in Paris. The monument surmounts the hill of Chaillot at the center of a pentagon-shaped configuration of radiating avenues. It was commissioned in 1806 after the victory at Austerlitz by Emperor Napoleon at the peak of his fortunes. Laying the foundations alone took two years, and in 1810 when Napoleon entered Paris from the west with his bride Archduchess Marie-Louise of Austria, he had a wooden mock-up of the completed arch constructed. The architect Jean Chalgrin died in 1811, and the work was taken over by Jean-Nicolas Huyot. During the Bourbon Restoration, construction was halted and it would not be completed until the reign of King Louis-Philippe, in 1833–36 when the architects on site were Goust, then Huyot, under the direction of Héricart de Thury. Napoleon's body passed under it on 15 December 1840 on its way to its second and final resting place at the Invalides.[6] The body of Victor Hugo was exposed under the Arch during the night of the 22 May 1885, prior to burial in the Panthéon.
The sword carried by the Republic in the Marseillaise relief broke off on the day, it is said, that the Battle of Verdun began in 1916. The relief was immediately hidden by tarpaulins to conceal the accident and avoid any undesired ominous interpretations[citation needed].
On August 7, 1919, Charles Godefroy successfully flew his biplane under the Arch [7] . Jean Navarre was the pilot who was tasked to make the flight, but he died on July 10 the same year when he crashed near Villacoublay while training for the flight.
Following its construction, the Arc de Triomphe became the rallying point of French troops parading after successful military campaigns and for the annual Bastille Day Military Parade. Famous victory marches around or under the Arc have included the Germans in 1871, the French in 1919, the Germans in 1940,[8] and the French and Allies in 1944[9] and 1945. A United States postage stamp from 1945 shows the Arc in the background as victorious American troops march down the Champs-Élysées and U.S. airplanes fly overhead.
Charles Godefroy – The flight through the Arc de TriompheBy the early 1960s, the monument had grown very blackened from coal soot and automobile exhaust, and during 1965–1966, it was thoroughly cleaned through bleaching. By 2007, some darkening was again apparent. The arc is planned to be bleached again in 2011.[citation needed]
In the prolongation of the Avenue des Champs-Élysées, a new Arch was built in 1982, completing the line of monuments that forms the Axe historique running through Paris. With the Arc de triomphe du Carrousel and the Arc de Triomphe de l'Étoile, the Arc de la défense is the third Arch built on the same perspective.
Details
The four main sculptures of the monument are
Le Départ de 1792 (or La Marseillaise), by François Rude
Le Triomphe de 1810, by Jean-Pierre Cortot
La Résistance de 1814, by Antoine Étex
La Paix de 1815, by Antoine Étex
Access
Pedestrian access to the Arc de Triomphe is via an underpass, visitors are not permitted to cross by road which has a heavy police presence. The Arc has one lift (elevator), to the level underneath the exterior observation level. Visitors can either climb 284 steps to reach the top (or attic) of the Arc which contains information and large models of the Arc and also contains a giftshop. Visitors can also take the lift and walk up 46 steps.[11] From the top there is a panoramic view of Paris, of the twelve major avenues leading to the Place de l'Étoile and of the exceptionally busy roundabout in which the Arc stands. The Arc de Triomphe is accessible by the RER and Métro at the Charles de Gaulle—Etoile stop.
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น