วันจันทร์ที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2553
การแต่งงานของชาวอิตาลี
ชาวอิตาลีส่วนใหญ่ของประเทศ จะนับถือศาสนาคริสต์ นิกายโรมันคาทอลิก ชาวอิตาลีจึงนับถือพิธีในโบสถ์ และเชื่อนิทานปรัมปราเมื่อมีการกำหนดวันและเวลาในการกระทำพิธีแต่งงานให้กับหญิงและชาย ชาวอิตาลี จึงไม่จัดงานแต่งงานในเดือนพฤษภาคมและสิงหาคม เพราะถือว่า เดือนพฤษภาคม เป็นเดือนของพระแม่มารี และเดือนสิงหาคมจะทำความเจ็บป่วย และความทุกข์มาให้ ในทางตรงกันข้าม ชาวอิตาลีจะถือว่าวันอาทิตย์เป็นวันมงคล ที่สุดของสัปดาห์
เจ้าบ่าวตามประเพณีจะพกเหล็กติดตัวอยู่ชิ้นหนึ่ง ด้วยความเชื่อว่าจะช่วยปัดเป่าภูตผีปีศาจร้ายออกไป ในส่วนของเจ้าสาวจะมีผ้าคลุมหน้าป้องกันและปกป้องจากอำนาจชั่วร้าย และการคลุมหน้ายังบ่งบอกถึงความบริสุทธิ์ของพรหมจารีอีกด้วย ส่วนหนึ่งในพิธีแต่งงานของชาวอิตาลีคือ การทำให้แก้ว หรือเหยือกใส่น้ำ ใบหนึ่งแตกกระจายเป็นเสี่ยง ๆ เป็นเครื่องบอก ว่าเจ้่าบ่าว และเจ้าสาวจะใช้ชีวิตอยู่ร่วมกันเป็นเวลานานกี่ปี โดยการนับจำนวนเศษแก้วที่แตกออกมา
จากนั้นก็จะปล่อยนกพิราบสีขาวให้เป็นอิสระ เพื่อเป็นฤกษ์งาม ยามดีในการใช้ชีวิตอยู่ร่วมกัีน พอตกค่ำก็จะมีการจัดเลี้ยงปาร์ตี้กํนตลอดทั้งคืน แล้วเจ้าสาวจะดำเนินการตามธรรมเนียมประเพณี คือการเวียนถุงผ้าซาตินไปรอบ ๆงานเลี้ยง เพื่อให้แขกเหรื่อ หย่อนซอง ที่ใส่เงินลงไปเพื่อช่วยภาระค่าใช้จ่าย ในพิธีแต่งงานที่ผ่านมาเช่นเดียวกันเจ้าบ่าวก็จะตัดเน็คไท ที่ตนเองใส่ ออกเป็นชิ้นๆเพื่อประมูลขายให้กับแขกในพิธี เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปฮันนีมูน จากนั้นคู่เจ้าบ่าว เจ้าสาวก็จะขับรถสวยหรูที่ถูกประดับประดาด้วยดอกไม้ทั้งคัน ออกไปด้วยกัน เพื่อเป็นการแสดงถึงการเดินทาง สู่ชีวิตใหม่ที่มีความสุขอย่างสมบูรณ์
วันพฤหัสบดีที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2553
ประเพณีการแต่งงานของฝรั่งเศส
พิธีแต่งงานของฝรั่งเศสจะเน้นความขาวบริสุทธิ์เป็นหลัก มีการให้พรจากนักบวชภายในโบสถ์ซึ่งอบอวลไปด้วยเครื่องหอมและดอกไม้ต่าง ๆ ขณะที่ย่างก้าวออกจากโบสถ์ คู่บ่าวสาวก็จะถูกโปรยด้วยเมล็ดข้าวสาลี ในงานเลี้ยงบรรดาแขกเหรื่อจะนำดอกไม้มามอบแก่ทั้งสอง เพื่อฉลองการเริ่มต้นชีวิตใหม่ที่สดใสเหมือนดั่งดอกไม้แรกแย้ม และด้วยเหตุผลเดียวกัน เจ้าสาวฝรั่งเศสมักจะประดับผมของเธอด้วยดอกไม้ หรือไม่ก็สวมหมวกมีดอกไม้ประดับประดาอยู่
เจ้าบ่าวและเจ้าสาวจะดื่มอวยพรให้แก่กันด้วยแก้วพิเศษที่มีที่จับอยู่สองข้าง ทั้งสองจะดื่มให้แก่กันจากแก้วใบเดียวกันนี้ เพื่อแสดงถึงการเริ่มต้นการใช้ชีวิตที่เหลือร่วมกัน แก้วหรือถ้วยใบนี้จะถูกเก็บไว้เพื่อสืบทอดต่อไปสู่รุ่นลูกรุ่นหลาน
วันพฤหัสบดีที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2553
ประเทศเยอรมนี
ประเทศเยอรมนี หรือ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี เป็นประเทศในทวีปยุโรป พรมแดนทางทิศเหนือติดทะเลเหนือ เดนมาร์ก และทะเลบอลติก ทิศตะวันออกติดโปแลนด์และสาธารณรัฐเช็ก ทิศใต้ติดออสเตรีย และสวิตเซอร์แลนด์ ทิศตะวันตกติดฝรั่งเศส ลักเซมเบิร์ก เบลเยียม และเนเธอร์แลนด์ มีเมืองหลวงคือเบอร์ลิน
ในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ประเทศเยอรมนีได้ถูกแบ่งเป็นสองส่วน เป็นประเทศเยอรมนีตะวันตกและประเทศเยอรมนีตะวันออก ก่อนจะกลับมารวมประเทศกันอีกครั้งในวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2533
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ของเยอรมนีเริ่มต้นตั้งแต่สมัยอาณาจักรโรมัน ซึ่งช่วงนั้นยังเป็นแคว้นหนึ่งของโรมัน ต่อมาได้แยกตัวเป็นจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (Holy Roman Empire)เมื่อนโปเลียนโจมตีจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ก็ล่มสลายกลายเป็นแคว้นเล็กๆมากมายต่อมาพระเจ้าฟรีดริชที่2ทรงรวมปรัสเซียเข้ากับแคว้นทางตอนเหนือและจึงเปลี่ยนชื่อเป็น "เยอรมนี" โดยพระเจ้าไกเซอร์แห่งปรัสเซีย จึงใช้ชื่อนี้จนถึงปัจจุบัน
การเมืองการปกครอง
อาคารรัฐสภาของเยอรมนีเยอรมนีปกครองในรูปแบบสหพันธ์สาธารณรัฐประชาธิปไตยแบบรัฐสภา ระบบการปกครองของเยอรมนีมีพื้นฐานจากเอกสารรัฐธรรมนูญในปี พ.ศ. 2492 ซึ่งเรียกว่า Grundgesetz (กฎหมายหลัก) การเรียกกฎหมายนี้ว่า Grundgesetz แทนที่จะเป็น Verfassung (รัฐธรรมนูญ) เป็นความตั้งใจที่ว่าจะถูกแทนที่โดยรัฐธรรมนูญเมื่อเยอรมนีได้รวมเป็นรัฐเดียว การแก้ไขกฎหมายหลักจะต้องใช้เสียงมากกว่าสองในสามของสมาชิกทั้งสองสภา มาตราที่เกี่ยวข้องกับสิทธิพื้นฐาน การแยกอำนาจ โครงสร้างสหพันธ์ และสิทธิในการต่อต้านความพยายามล้มล้างรัฐธรรมนูญนั้นคงอยู่ตลอดกาล ไม่สามารถแก้ไขได้ ชื่อ Grundgesetz ยังคงใช้หลังการรวมประเทศเยอรมนี ตำแหน่งนายกรัฐมนตรี (เยอรมัน: Bundeskanzler; อังกฤษ: Chancellor) เป็นตำแหน่งหัวหน้ารัฐบาล เป็นผู้ใช้อำนาจบริหาร คนปัจจุบันคืออังเกลา แมร์เคิล อำนาจนิติบัญญัติเป็นของรัฐสภาซึ่งประกอบไปด้วย Bundestag ซึ่งเป็นสภาผู้แทนราษฎร มีสมาชิกมาจากการเลือกตั้งโดยตรง และ Bundesrat เป็นสภาตัวแทนรัฐสิบหกรัฐของสหพันธ์ ตำแหน่งประธานาธิบดี (Bundespräsident) เป็นตำแหน่งประมุขแห่งรัฐ ได้รับเลือกจากที่ประชุมสหพันธ์ (Bundesversammlung) ซึ่งประกอบสมาชิกของ Bundestag และตัวแทนของแต่รัฐต่างๆ ในจำนวนเท่ากัน ประธานาธิบดีทำหน้าที่เป็นตัวแทนของสหพันธ์ ประธานาธิบดีคนปัจจุบันคือฮอร์สท เคอแลร์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2492 ระบบพรรคการเมืองของเยอรมนีมีเพียงสองพรรคการเมืองหลักคือสหภาพคริสเตียนเดโมแครต และพรรคสังคมประชาธิปไตยเยอรมนี โดยจนถึงปัจจุบันนายกรัฐมนตรีมาจากเพียงสองพรรคนี้ อย่างไรก็ตาม ก็มีพรรคที่เล็กกว่าซึ่งมีบทบาทสำคัญอย่างพรรคประชาธิปไตยเสรีและกลุ่มพันธมิตร 90/กรีน ซึ่งมักเข้าเป็นพรรคร่วมรัฐบาลในรัฐบาลผสม
การแบ่งเขตการปกครอง
เยอรมนีแบ่งการปกครองในระบบสหพันธรัฐ มีทั้งหมด 16 รัฐ โดยแต่ละรัฐ (หรือในภาษาท้องถิ่น Bundesland) จะมีรัฐบาลท้องถิ่นเป็นของตัวเองและจะมีกระทรวงการปกครองบริหารสูงสุดกระทรวงจะดูแลรัฐทุกรัฐของเยอรมนี
รัฐ เมืองเอก พื้นที่ (ตร. กิโลเมตร) ประชากร
1. บาเดิน-เวือร์ทเทมแบร์ก
Baden-Württemberg สตุทท์การ์ท (Stuttgart) 35,752 10,717,000
2. บาเยิร์น (บาวาเรีย)
เยอรมัน :Bayern
อังกฤษ :Bavaria มิวนิก
เยอรมัน :München
อังกฤษ :Munich 70,549 12,444,000
3. เบอร์ลิน (นครรัฐ)
Berlin เบอร์ลิน 892 3,400,000
4. บรานเดนบวร์ก
Brandenburg พอทสดัม (Potsdam) 29,477 2,568,000
5. เบรเมน (นครรัฐ)
Bremen เบรเมน 404 663,000
6. ฮัมบูร์ก (นครรัฐ)
Hamburg ฮัมบูร์ก 755 1,735,000
7. เฮสส์
เยอรมัน :Hessen; อังกฤษ :Hesse วีส์บาเดน (Wiesbaden) 21,115 6,098,000
8. เมคเลนบูร์ก-ฟอร์พอมเมิร์น
เยอรมัน :Mecklenburg-Vorpommern
อังกฤษ :Mecklenburg-Western Pomerania ชเวริน (Schwerin) 23,174 1,720,000
9. นีเดอร์ซัคเซ่น
เยอรมัน :Niedersachsen
อังกฤษ :Lower Saxony ฮันโนเวอร์
เยอรมัน :Hannover
อังกฤษ :Hanover 47,618 8,001,000
10. นอร์ดไรน์-เวสต์ฟาเลน
เยอรมัน :Nordrhein-Westfalen
อังกฤษ :North Rhine-Westphalia ดึสเซิลดอร์ฟ (Düsseldorf) 34,043 18,075,000
11. ไรน์ลันด์-พฟาลซ์
เยอรมัน :Rheinland-Pfalz
อังกฤษ :Rhineland-Palatinate ไมนซ์ (Mainz) 19,847 4,061,000
12. ซาร์ลันด์
Saarland ซาร์บรืกเคิน (Saarbrücken) 2,569 1,056,000
13. ซัคเซ่น (แซกโซนี)
เยอรมัน :Sachsen; อังกฤษ :Saxony เดรสเดน (Dresden) 18,416 4,296,000
14. ซัคเซ่น-อันฮัลต์
เยอรมัน :Sachsen-Anhalt
อังกฤษ :Saxony-Anhalt มักเดบวร์ก (Magdeburg) 20,445 2,494,000
15. ชเลสวิก-โฮลชไตน์
Schleswig-Holstein คีล (Kiel) 15,763 2,829,000
16. ทูริงเง่น
เยอรมัน :Thüringen; อังกฤษ :Thuringia แอร์ฟวร์ท (Erfurt) 16,172 2,355,000
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ
ประเทศเยอรมนีกับประเทศฝรั่งเศส มีบทบาทเป็นผู้นำของสหภาพยุโรป และกำลังมุ่งหน้าสู่การรวมการเมืองการปกครองของแต่ละประเทศสมาชิก มาขึ้นกับสหภาพยุโรปมากขึ้น หลังจากแพ้สงครามโลกครั้งที่ 2 เยอรมนีพยายามไม่ยุ่งเกี่ยวกับความขัดแย้งทางการทหารของประเทศอื่นมากนัก พฤติกรรมนี้เริ่มเปลี่ยนแปลงใน พ.ศ. 2542 เมื่อเยอรมนีตัดสินใจส่งทหารเข้าร่วมสงครามโคโซโว เยอรมนีและฝรั่งเศสยังเป็นประเทศหลักที่คัดค้านการรุกรานประเทศอิรักของสหรัฐอเมริกา ใน พ.ศ. 2546 ปัจจุบัน เยอรมนีกำลังพยายามเข้าเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ เช่นเดียวกับ ญี่ปุ่น อินเดีย และบราซิล
เศรษฐกิจ
ประเทศเยอรมนีมีผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) เป็นอันดับสามของโลกถัดจากสหรัฐอเมริกา และญี่ปุ่น เยอรมนียังเป็นประเทศที่มีการส่งออกเป็นอันดับสามของโลก รองจากสหรัฐอเมริกา และประเทศจีน ปัญหาทางเศรษฐกิจที่สำคัญคืออัตราการจ้างงาน
ประเทศเยอรมนีได้ก่อตั้งบริษัทชื่อดังหลายสาขา เช่น เมอร์เซเดส-เบนซ์ บีเอ็มดับเบิ้ลยู เอาดี้ มายบัค ซีเมนส์ เป็นต้น นอกจากนี้เยอรมนียังมีตลาดหลักทรัพย์แฟรงค์เฟิร์ตเป็นตลาดหลักทรัพย์ในแฟรงค์เฟิร์ตเป็นตลาดที่ใหญ่อันดับที่แปดของเยอรมนีและเป็นหนึ่งในตลาดที่ใหญ่ที่สุดในโลกอีกด้วย
กระทกรก หรือ เสาวรส
กะทกรก
ชื่อวิทยาศาสตร์: Passiflora foetida L.;
ชื่อภาษาอังกฤษ: Fetid passionflower, Scarletfruit passionflower, Stinking passionflower
ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ รก กระโปรงทอง ละพุบาบี หญ้ารกช้าง (ใต้) ตำลึงฝรั่ง เป็นไม้เถาเลื้อยคล้ายตำลึง เถาค่อนข้างคดไปงอมา เถามีหนามเล็ก ๆ ขึ้นอยู่ห่าง ๆ โดยทั่วไป ใบเป็นใบเดี่ยว รูปใบมนโค้งผิวเรียบปลายใบแหลมโดยแยกเป็นสามแฉก ใบและเส้นใบบริเวณที่ติดต่อกันมีสีแดงเรื่อ บริเวณใกล้โคนก้านใบมีแฉกแหลมเล็กเรียงตรงกันข้ามสลับกัน ก้านใบ มีขนาดก้านไม้ขีด ยาว 5 –6 เซนติเมตร มีขนอ่อนเป็นฝอยขนาดเล็ก ดอกมีลักษณะก้านดอกยาวกว่าใบ ดอกบานออกกลมกว้าง กลีบดอกสีขาวแซมด้วยริ้วสีม่วง ผลค่อนข้างกลมขนาดปลายนิ้วมือ และห่อหุ้มด้วย “รก” ผลสุกมีสีเหลือง
ขยายพันธุ์โดยการใช้เมล็ด นิเวศวิทยาและการแพร่กระจายขึ้นอยู่ตามที่รกร้างหรือขอบไร่ชายนา และบริเวณป่าพื้นราบ โดยเลื้อยพันกิ่งต้นไม้อื่น ๆ
ประโยชน์ทางด้านอาหาร ยอด ใช้เป็นผักสด มีรสขมเล็กน้อย หรือลวกจิ้มกับน้ำพริกและใช้แกงเลียง ผล ใช้กินเมล็ดและเยื่อหุ้มเมล็ด ทางด้านสมุนไพร เนื้อไม้ ใช้เป็นยาควบคุมธาตุ ถอนพิษเบื่อเมาทุกชนิดและใช้รักษาบาดแผล ราก ใช้ต้มน้ำดื่มแก้ไข แก้กามโรค ใบ ใช้ตำให้ละเอียดแล้วคั้นเอาน้ำดื่มเป็นยาเบื่อและขับพยาธิ ดอก ขับเสมหะ แก้ไอ ผล แก้ปวด บำรุงปอด ใบสด ใช้พอกแก้สิว ต้น ใช้ขับปัสสาวะ ขับเสมหะ แก้ไอ และอาการบวม
Passiflora foetida
Passiflora foetida ou passiflore fétide est une liane herbacée de la famille des Passifloraceae, originaire des zones tropicales et subtropicales d'Amérique. Elle s'est répandue maintenant partout sous les tropiques où elle peut devenir une adventice des cultures.
Connue aux Antilles sous les noms de marigouya (Marie-goujat) et de bonbon koulèv (bonbon couleuvre) alors qu'à La Réunion, on la dénomme poc-poc, passiflore poc-poc, marie-goujat, grenadille-caméléon ou pomme liane collant.
Cette espèce est très polymorphe et a été divisée en 37 variétés par Killip en plus de P. foetida.
Synonymes :
Dysosmia foetida (L.) M. Roemer
Granadilla foetida (L.) Gaertner
Passiflora foetida var. hispida (Candolle ex Triana & Planchon) Killip
Passiflora hispida Candolle ex Triana & Planchon
Tripsilina foetida (L.) Rafinesque
Description [modifier]
Passiflora foetida[1] est une plante herbacée annuelle, parfois pérenne, rampante ou grimpante par ses vrilles. Elle est entièrement couverte de poils verts puis bruns, terminés par une glande visqueuse responsable de son odeur désagréable.
Les feuilles alternes, portées par un pétiole de 2-6 cm de long, pubescent, sans glande, comporte un limbe ovale à obovale, de 4-13 x 4-12 cm, à base plus ou moins cordée, à 3 lobes plus ou moins prononcés, le lobe médian en général bien plus important que les latéraux. La face inférieure est pubescente avec des nectaires dans la partie distale et quelques poils glanduleux. La marge est ciliée.
La fleur solitaire, opposée à une vrille, comporte :
3 bractées, pinnatifides, formant un filet réticulé de filaments collants
5 sépales blancs dessus
5 pétales de 1,5-2 cm, blancs
une couronne de filaments formée de 2 séries externes de 1 cm (et 3 séries internes plus petites), de couleur blanc et pourpre bleuté
une colonne (l'androgynophore) de 5-7 mm, portant l'androcée et le gynécée :
5 étamines terminés par des anthères tournés vers le bas
1 ovaire ellipsoïde, surmonté de 3 (ou 4) styles
Les fleurs s’épanouissent le matin et se ferme le soir, puis se fanent rapidement.
Le fruit est une baie orange ou rouge orangé, ovoïde, de 2-3 cm de diamètre, contenant de nombreuses graines. Elle renferme une pulpe translucide de saveur parfumée, non acidulée, comestible.
Écologie
Cette passiflore est originaire d'Amérique. Son domaine s'étend du sud des Etats-Unis, à travers les Caraïbes et l'Amérique Centrale jusqu'au Pérou et l'Argentine.
Elle s'est maintenant naturalisée dans les zones tropicales d'Afrique, du Pakistan, de l'Inde, Shri Lanka, d'Asie du Sud-Est, de Chine et des îles du Pacifique.
C'est une adventice des cultures tropicales. Elle est plantée entre les pieds de patates douces en Nouvelle Guninée pour concurrencer la graminée Imperata cylindrica.
Cette rudérale pousse dans les haies, autour des décombres, sur le bord des routes, les rives des rivières. Elle préfère les sols humides mais tolère des conditions arides.
Fruit entouré des bractéesPassiflora foetida est capable de prendre au piège dans les filets collants de ses bractées des insectes[2] (homoptera, hymenoptera, diptera). Les bractées sont couvertes de petites glandes produisant une sécrétion collante ayant une activité peptidase et phosphatase acide, deux enzymes que l'on trouve dans les pièges des plantes carnivores. Il n'est cependant pas établi clairement si la plante tire de la nourriture de ses proies[3]. On la considère donc plutôt comme une protocarnivore.
ชื่อวิทยาศาสตร์: Passiflora foetida L.;
ชื่อภาษาอังกฤษ: Fetid passionflower, Scarletfruit passionflower, Stinking passionflower
ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ รก กระโปรงทอง ละพุบาบี หญ้ารกช้าง (ใต้) ตำลึงฝรั่ง เป็นไม้เถาเลื้อยคล้ายตำลึง เถาค่อนข้างคดไปงอมา เถามีหนามเล็ก ๆ ขึ้นอยู่ห่าง ๆ โดยทั่วไป ใบเป็นใบเดี่ยว รูปใบมนโค้งผิวเรียบปลายใบแหลมโดยแยกเป็นสามแฉก ใบและเส้นใบบริเวณที่ติดต่อกันมีสีแดงเรื่อ บริเวณใกล้โคนก้านใบมีแฉกแหลมเล็กเรียงตรงกันข้ามสลับกัน ก้านใบ มีขนาดก้านไม้ขีด ยาว 5 –6 เซนติเมตร มีขนอ่อนเป็นฝอยขนาดเล็ก ดอกมีลักษณะก้านดอกยาวกว่าใบ ดอกบานออกกลมกว้าง กลีบดอกสีขาวแซมด้วยริ้วสีม่วง ผลค่อนข้างกลมขนาดปลายนิ้วมือ และห่อหุ้มด้วย “รก” ผลสุกมีสีเหลือง
ขยายพันธุ์โดยการใช้เมล็ด นิเวศวิทยาและการแพร่กระจายขึ้นอยู่ตามที่รกร้างหรือขอบไร่ชายนา และบริเวณป่าพื้นราบ โดยเลื้อยพันกิ่งต้นไม้อื่น ๆ
ประโยชน์ทางด้านอาหาร ยอด ใช้เป็นผักสด มีรสขมเล็กน้อย หรือลวกจิ้มกับน้ำพริกและใช้แกงเลียง ผล ใช้กินเมล็ดและเยื่อหุ้มเมล็ด ทางด้านสมุนไพร เนื้อไม้ ใช้เป็นยาควบคุมธาตุ ถอนพิษเบื่อเมาทุกชนิดและใช้รักษาบาดแผล ราก ใช้ต้มน้ำดื่มแก้ไข แก้กามโรค ใบ ใช้ตำให้ละเอียดแล้วคั้นเอาน้ำดื่มเป็นยาเบื่อและขับพยาธิ ดอก ขับเสมหะ แก้ไอ ผล แก้ปวด บำรุงปอด ใบสด ใช้พอกแก้สิว ต้น ใช้ขับปัสสาวะ ขับเสมหะ แก้ไอ และอาการบวม
Passiflora foetida
Passiflora foetida ou passiflore fétide est une liane herbacée de la famille des Passifloraceae, originaire des zones tropicales et subtropicales d'Amérique. Elle s'est répandue maintenant partout sous les tropiques où elle peut devenir une adventice des cultures.
Connue aux Antilles sous les noms de marigouya (Marie-goujat) et de bonbon koulèv (bonbon couleuvre) alors qu'à La Réunion, on la dénomme poc-poc, passiflore poc-poc, marie-goujat, grenadille-caméléon ou pomme liane collant.
Cette espèce est très polymorphe et a été divisée en 37 variétés par Killip en plus de P. foetida.
Synonymes :
Dysosmia foetida (L.) M. Roemer
Granadilla foetida (L.) Gaertner
Passiflora foetida var. hispida (Candolle ex Triana & Planchon) Killip
Passiflora hispida Candolle ex Triana & Planchon
Tripsilina foetida (L.) Rafinesque
Description [modifier]
Passiflora foetida[1] est une plante herbacée annuelle, parfois pérenne, rampante ou grimpante par ses vrilles. Elle est entièrement couverte de poils verts puis bruns, terminés par une glande visqueuse responsable de son odeur désagréable.
Les feuilles alternes, portées par un pétiole de 2-6 cm de long, pubescent, sans glande, comporte un limbe ovale à obovale, de 4-13 x 4-12 cm, à base plus ou moins cordée, à 3 lobes plus ou moins prononcés, le lobe médian en général bien plus important que les latéraux. La face inférieure est pubescente avec des nectaires dans la partie distale et quelques poils glanduleux. La marge est ciliée.
La fleur solitaire, opposée à une vrille, comporte :
3 bractées, pinnatifides, formant un filet réticulé de filaments collants
5 sépales blancs dessus
5 pétales de 1,5-2 cm, blancs
une couronne de filaments formée de 2 séries externes de 1 cm (et 3 séries internes plus petites), de couleur blanc et pourpre bleuté
une colonne (l'androgynophore) de 5-7 mm, portant l'androcée et le gynécée :
5 étamines terminés par des anthères tournés vers le bas
1 ovaire ellipsoïde, surmonté de 3 (ou 4) styles
Les fleurs s’épanouissent le matin et se ferme le soir, puis se fanent rapidement.
Le fruit est une baie orange ou rouge orangé, ovoïde, de 2-3 cm de diamètre, contenant de nombreuses graines. Elle renferme une pulpe translucide de saveur parfumée, non acidulée, comestible.
Écologie
Cette passiflore est originaire d'Amérique. Son domaine s'étend du sud des Etats-Unis, à travers les Caraïbes et l'Amérique Centrale jusqu'au Pérou et l'Argentine.
Elle s'est maintenant naturalisée dans les zones tropicales d'Afrique, du Pakistan, de l'Inde, Shri Lanka, d'Asie du Sud-Est, de Chine et des îles du Pacifique.
C'est une adventice des cultures tropicales. Elle est plantée entre les pieds de patates douces en Nouvelle Guninée pour concurrencer la graminée Imperata cylindrica.
Cette rudérale pousse dans les haies, autour des décombres, sur le bord des routes, les rives des rivières. Elle préfère les sols humides mais tolère des conditions arides.
Fruit entouré des bractéesPassiflora foetida est capable de prendre au piège dans les filets collants de ses bractées des insectes[2] (homoptera, hymenoptera, diptera). Les bractées sont couvertes de petites glandes produisant une sécrétion collante ayant une activité peptidase et phosphatase acide, deux enzymes que l'on trouve dans les pièges des plantes carnivores. Il n'est cependant pas établi clairement si la plante tire de la nourriture de ses proies[3]. On la considère donc plutôt comme une protocarnivore.
วันศุกร์ที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2553
ประตูชัยฝรั่งเศส ( Arc de Triomphe )
ประตูชัยฝรั่งเศส (ฝรั่งเศส: Arc de triomphe de l'Étoile) เป็นอนุสรณ์สถานที่สำคัญในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ตั้งอยู่กลางจัตุรัสชาร์ลส์ เดอ โกลล์ (Place Charles de Gaulle) หรือเป็นที่รู้จักกันในนาม จัตุรัสแห่งดวงดาว (Place de l'Étoile) อยู่ทางทิศตะวันตกของชองป์-เซลิเซ่ส์ ประตูชัยแห่งนี้สร้างขึ้นเพื่อเป็นการสดุดีวีรชนทหารกล้าที่ได้ร่วมรบเพื่อประเทศฝรั่งเศส โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสงครามนโปเลียน และในปัจจุบันยังเป็นสุสานของทหารนิรนามอีกด้วย
ประตูชัยนี้เป็นส่วนหนึ่งของ "แนวเส้นตรงทางประวัติศาสตร์" (L'Axe historique) ซึ่งเป็นถนนเส้นตรงจากสวนพิพิธภัณฑ์ลูฟร์ไปยังชานเมืองปารีส ประตูชัยแห่งนี้ออกแบบโดยฌอง ชาลแกร็งในปี พ.ศ. 2349 โดยมียุวชนเปลือยชาวฝรั่งเศสกำลังต่อสู้กับทหารเยอรมัน เต็มไปด้วยเคราและใส่เกราะเป็นสัญลักษณ์เพื่อเป็นการปลุกใจ และเป็นอนุสรณ์สถานจนกระทั่งสงครามโลกครั้งที่ 1
ประตูชัยฝรั่งเศสมีความสูง 49.5 เมตร (165 ฟุต) กว้าง 45 เมตร (148 ฟุต) และลึก 22 เมตร (72 ฟุต) เป็นประตูชัยที่ใหญ่เป็นอันดับสองของโลกที่ปรากฏอยู่ในปัจจุบัน[1] แบบของประตูชัยฝรั่งเศสนี้ได้แนวความคิดมาจากประตูชัยไตตัส ประตูชัยฝรั่งเศสมีความใหญ่มาก เพราะหลังจากมีการสวนสนามในปรุงปารีสเมื่อปี พ.ศ. 2462 ชาร์ลส์ โกดฟรัว ได้ขับเครื่องบินนีอูปอร์ต (Nieuport) ผ่านกลางประตูชัยฝรั่งเศสเพื่อเป็นการสดุดีเหล่าทหารอากาศที่ได้เสียชีวิตในสงครามโลกครั้งที่ 1
ประวัติ
ประตูชัยฝรั่งเศสเป็นหนึ่งในอนุสรณ์สถานที่โด่งดังที่สุดแห่งหนึ่งของกรุงปารีส ได้ถูกมอบหมายให้สร้างในปี พ.ศ. 2349 หลังจากจักรพรรดินโปเลียนที่ 1ได้รับชัยชนะในยุทธการเอาสเตอร์ลิทซ์ กว่าจะวางรากฐานของการก่อสร้างก็ใช้เวลาเกือบ 2 ปีไปแล้ว และในปี พ.ศ. 2353 เมื่อจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 เสด็จกรุงปารีสจากทางทิศตะวันตกพร้อมด้วยเจ้าสาว อาร์คดัชเชสมารี หลุยส์แห่งออสเตรีย ประตูชัยฝรั่งเศสก็ถูกสร้างขึ้นด้วยไม้ในแบบจำลองเท่านั้นเอง สถาปนิกฌอง ชาลแกร็งได้เสียชีวิตลงในปี พ.ศ. 2354 ดังนั้นอูยงจึงได้ดูแลงานนี้ต่อมา ในช่วงราชวงศ์บูร์บงฟื้นฟู การก่อสร้างได้หยุดชะงักลงและไปเสร็จสิ้นในรัชสมัยพระเจ้าหลุยส์-ฟิลิปป์ ในระหว่าง พ.ศ. 2376 - พ.ศ. 2379 โดยสถาปนิกคือกูสต์ ต่อมาคืออูโยต์ ภายใต้การดูแลของหลุยส์-เอเตียนน์ เอริการ์ต เดอ ตูรี (Louis-Étienne Héricart de Thury)
การออกแบบ
ตั้งแต่การล่มสลายของจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 ในปี พ.ศ. 2358 แล้ว ประตูชัยได้กลายเป็นสัญลักษณ์แห่งสันติ ซึ่งได้มีการเฉลิมฉลองกันในปีเดียวกันนั้นด้วย
แบบของประตูชัยนั้น ฌอง ชาลแกร็งเป็นผู้ออกแบบ ในรูปแบบศิลปะคลาสสิคใหม่ ที่ได้ดัดแปลงมาจากสถาปัตยกรรมโรมันโบราณ ช่างแกะสลักที่สำคัญของประเทศฝรั่งเศสนั้นก็ได้มีส่วนร่วมในรูปแกะสลักของประตูชัยฝรั่งเศสด้วย เช่น ฌอง-ปีแอร์ กอร์โตต์, ฟรองซัวส์ รูด, อองตวน เอเตกซ์, เจมส์ ปราดีเยร์และฟิลิปป์ โฌเซฟ อองรี ลาแมร์ รูปแกะสลักที่สำคัญไม่ได้เป็นลวดลายยาวบนกำแพง แต่เป็นรูปแกะสลักลอยตัวที่เป็นสัญลักษณ์แห่งชัยชนะติดกับตัวประตูชัย
Le Départ de 1792 (เรียกว่า La Marseillaise) โดยฟรองซัวส์ รูด
La Résistance de 1814 โดยอองตวน เอเตกซ์
La Paix de 1815 โดยอองตวน เอเตกซ์
การดูแลรักษา
ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1960 ประตูชัยฝรั่งเศสได้มีสีดำขึ้น เนื่องจากถูกเขม่าถ่านหิน ต่อมาในช่วงปี พ.ศ. 2508 - พ.ศ. 2509 ประตูชัยได้ถูกทำความสะอาดโดยเครื่องพ่นทราย ในปัจจุบันคราบสีดำเริ่มก่อตัวขึ้นมาใหม่อีกครั้งหนึ่ง
การเข้าชม
การเข้าสู่ประตูชัยด้วยการเดินเท้านั้นคือผ่านทางเดินใต้ดิน ถ้าเดินข้างบนมักจะไม่ปลอดภัยเนื่องจากจราจรอันคับคั่งบริเวณจัตุรัสชาร์ลส์ เดอ โกลล์ ประตูชัยจะมีลิฟต์ 1 ตัว นักท่องเที่ยวสามารถเดินขึ้นบันได 284 ขั้นเพื่อขึ้นสู่ยอดประตูชัยหรือสามารถขึ้นลิฟต์ดังกล่าวและขึ้นบันไดอีก 46 ขั้นได้เหมือนกัน บนยอดของประตูชัยเป็นสถานที่ชมวิวได้สวยที่สุดแห่งหนึ่งของกรุงปารีส เนื่องจากสามารถเห็นถนนใหญ่ 12 สายมาบรรจบกันยังประตูชัย (จัตุรัสชาร์ลส์ เดอ โกลล์) ได้ด้วย นักท่องเที่ยวสามารถขึ้นรถไฟฟ้าแอร์เออแอร์หรือรถไฟฟ้าปารีสได้ โดยลงที่สถานีชาร์ลส์ เดอ โกลล์-เอตวล
Arc de Triomphe
The Arc de Triomphe is a monument in Paris that stands in the centre of the Place Charles de Gaulle, (also known as the Place de l'Étoile), at the western end of the Champs-Élysées.[1] Officially, it is the Arc de Triomphe de l'Étoile, as the smaller Arc de Triomphe du Carrousel exists nearby. The triumphal arch honours those who fought for France, particularly during the Napoleonic Wars. On the inside and the top of the arc there are all of the names of generals and wars fought. Underneath is the tomb of the unknown soldier from World War I.
The Arc is the linchpin of the historic axis (Axe historique) — a sequence of monuments and grand thoroughfares on a route which goes from the courtyard of the Louvre Palace, to the Arche de la Défense. The monument was designed by Jean Chalgrin in 1806, and its iconographic program pitted heroically nude French youths against bearded Germanic warriors in chain mail. It set the tone for public monuments, with triumphant patriotic messages, until World War I.
The monument stands 50 m (160 ft) in height, 45 m (148 ft) wide and 22 m (72 ft) deep. The large vault is -29.19 m (−95.8 ft) high and 14.62 m (48.0 ft) wide. The small vault is 18.68 m (61.3 ft) high and 8.44 m (27.7 ft) wide. It is the second largest triumphal arch in existence.[2] Its design was inspired by the Roman Arch of Titus. The Arc de Triomphe is so colossal that three weeks after the Paris victory parade in 1919, marking the end of hostilities in World War I, Charles Godefroy flew his Nieuport biplane through it, with the event captured on newsreel.
History
There was a pre-Napoleonic (1758) proposal by Charles Ribart for an elephant-shaped building on the location of the current arch.
Avenues radiate from the Arc de Triomphe in Place de l'Étoile.
The Arc de Triomphe from the Place Charles de GaulleIt is located on the right bank of the Seine River. It forms the backdrop for an impressive urban ensemble in Paris. The monument surmounts the hill of Chaillot at the center of a pentagon-shaped configuration of radiating avenues. It was commissioned in 1806 after the victory at Austerlitz by Emperor Napoleon at the peak of his fortunes. Laying the foundations alone took two years, and in 1810 when Napoleon entered Paris from the west with his bride Archduchess Marie-Louise of Austria, he had a wooden mock-up of the completed arch constructed. The architect Jean Chalgrin died in 1811, and the work was taken over by Jean-Nicolas Huyot. During the Bourbon Restoration, construction was halted and it would not be completed until the reign of King Louis-Philippe, in 1833–36 when the architects on site were Goust, then Huyot, under the direction of Héricart de Thury. Napoleon's body passed under it on 15 December 1840 on its way to its second and final resting place at the Invalides.[6] The body of Victor Hugo was exposed under the Arch during the night of the 22 May 1885, prior to burial in the Panthéon.
The sword carried by the Republic in the Marseillaise relief broke off on the day, it is said, that the Battle of Verdun began in 1916. The relief was immediately hidden by tarpaulins to conceal the accident and avoid any undesired ominous interpretations[citation needed].
On August 7, 1919, Charles Godefroy successfully flew his biplane under the Arch [7] . Jean Navarre was the pilot who was tasked to make the flight, but he died on July 10 the same year when he crashed near Villacoublay while training for the flight.
Following its construction, the Arc de Triomphe became the rallying point of French troops parading after successful military campaigns and for the annual Bastille Day Military Parade. Famous victory marches around or under the Arc have included the Germans in 1871, the French in 1919, the Germans in 1940,[8] and the French and Allies in 1944[9] and 1945. A United States postage stamp from 1945 shows the Arc in the background as victorious American troops march down the Champs-Élysées and U.S. airplanes fly overhead.
Charles Godefroy – The flight through the Arc de TriompheBy the early 1960s, the monument had grown very blackened from coal soot and automobile exhaust, and during 1965–1966, it was thoroughly cleaned through bleaching. By 2007, some darkening was again apparent. The arc is planned to be bleached again in 2011.[citation needed]
In the prolongation of the Avenue des Champs-Élysées, a new Arch was built in 1982, completing the line of monuments that forms the Axe historique running through Paris. With the Arc de triomphe du Carrousel and the Arc de Triomphe de l'Étoile, the Arc de la défense is the third Arch built on the same perspective.
Details
The four main sculptures of the monument are
Le Départ de 1792 (or La Marseillaise), by François Rude
Le Triomphe de 1810, by Jean-Pierre Cortot
La Résistance de 1814, by Antoine Étex
La Paix de 1815, by Antoine Étex
Access
Pedestrian access to the Arc de Triomphe is via an underpass, visitors are not permitted to cross by road which has a heavy police presence. The Arc has one lift (elevator), to the level underneath the exterior observation level. Visitors can either climb 284 steps to reach the top (or attic) of the Arc which contains information and large models of the Arc and also contains a giftshop. Visitors can also take the lift and walk up 46 steps.[11] From the top there is a panoramic view of Paris, of the twelve major avenues leading to the Place de l'Étoile and of the exceptionally busy roundabout in which the Arc stands. The Arc de Triomphe is accessible by the RER and Métro at the Charles de Gaulle—Etoile stop.
พิพิธภัณฑ์ออร์เซย์ ( Musée d'Orsay )
หอไอเฟล ( Tour Eiffel )
หอไอเฟล (ฝรั่งเศส: Tour Eiffel, ตูร์แอฟแฟล; อังกฤษ: Eiffel Tower) หอคอยโครงสร้างเหล็กตั้งอยู่บนชองป์ เดอ มารส์ บริเวณแม่น้ำแซน ในกรุงปารีส หอไอเฟลเป็นสัญลักษณ์ของประเทศฝรั่งเศสที่เป็นที่รู้จักกันทั่วโลก ทั้งยังเป็นหนึ่งในสิ่งก่อสร้างที่มีชื่อเสียงที่สุดในโลกอีกด้วย
หอไอเฟลเป็นหนึ่งในสิ่งก่อสร้างที่โด่งดังที่สุดแห่งหนึ่งของโลก โดยตั้งชื่อตามสถาปนิกผู้ออกแบบ "กุสตาฟ ไอเฟล" ในปี พ.ศ. 2549 นักท่องเที่ยวกว่า 6,719,200 คนได้เข้าเยี่ยมชมสถานที่แห่งนี้ และกว่า 200,000,000 คนตั้งแต่เริ่มก่อสร้าง ส่งผลให้หอไอเฟลเป็นสิ่งก่อสร้างที่มีคนเข้าชมมากที่สุดต่อปีอีกด้วย หอไอเฟลมีความสูง 324 เมตร (1,063 ฟุต) (รวมเสาอากาศสูง 24 เมตร (79 ฟุต)) ซึ่งก็สูงเท่ากับตึก 81 ชั้น เมื่อหอไอเฟลสร้างเสร็จในปี พ.ศ. 2432 (ค.ศ. 1889) หอไอเฟลกลายเป็นสิ่งก่อสร้างที่สูงที่สุดในโลกแทนที่อนุสาวรีย์วอชิงตัน และได้ครองตำแหน่งนี้มาเรื่อยๆ จนกระทั่งปี พ.ศ. 2473 (ค.ศ. 1930) ก็ได้เสียตำแหน่งให้แก่ตึกไครส์เลอร์ (319 เมตร หรือ 1,047 ฟุต) ที่เพิ่งสร้างเสร็จ ปัจจุบันฟอไอเฟลสูงเป็นอันดับที่ 5 ในประเทศฝรั่งเศสและสูงที่สุดในกรุงปารีส ซึ่งอันดับสองคือหอมงต์ปาร์นาสส์ (Tour Montparnasse - 210 เมตร หรือ 689 ฟุต) ซึ่งในไม่ช้าจะถูกแทนที่โดยหออาอิกซ์อา (Tour AXA - 225.11 เมตร หรือ 738.36 ฟุต)
โครงสร้าง
ภาพเมื่อแรกสร้างหอไอเฟลมีความสูง 300 เมตร (986 ฟุต) ซึ่งไม่รวม เสาอากาศ 24 เมตร (72 ฟุต) ด้านบนนั้น ถ้าเปรียบเทียบกับตึกแล้วจะมีประมาณ 75 ชั้น ในขณะที่ก่อสร้างปี พ.ศ. 2432 (ค.ศ. 1889) หอไอเฟลนั้นเป็นสิ่งก่อสร้างที่สูงที่สุดบนโลก โดยถูกล้มตำแหน่งเมื่อเมืองนิวยอร์กได้สร้าง ตึกไครส์เลอร์ สูง 319 เมตร (1047 ฟุต)
น้ำหนักเหล็กที่ใช้ก่อสร้างนั้นทั้งหมด 7,300 ตัน และถ้ารวมทั้งหมดก็เป็น 10,000 ตัน ส่วนจำนวนบันไดนั้นเปลี่ยนแปลงตลอด เมื่อแรกเริ่มนั้นมี 1710 ขั้น ในทศวรรษที่ 1980 มี 1920 ขั้น และในปัจจุบัน มี 1665 ขั้น
เหตุการณ์
10 กันยายน พ.ศ. 2432 (ค.ศ. 1889) - โทมัส เอดิสันได้เข้าชมหอไอเฟล
พ.ศ. 2432 (ค.ศ. 1889) หอคอยได้สร้างเสร็จ และเป็น 1 ในสิ่งก่อสร้างในงาน EXPO
พ.ศ. 2445 (ค.ศ. 1902) - ฟ้าผ่าหอไอเฟล จึงได้มีการซ่อมยอดของหอ สูง 100 เมตร (330 ฟุต) และเปลี่ยนดวงไฟที่เสียหาย
พ.ศ. 2473 (ค.ศ. 1930) หอเสียตำแหน่งสิ่งก่อสร้างที่สูงที่สุดในโลก ให้แก่ตึกไครส์เลอร์
ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2468 - พ.ศ. 2477 (ค.ศ. 1925 - 1934) ประดับไฟ 3 ด้านใน 4 ด้านของหอ
พ.ศ. 2483 (ค.ศ. 1940) เมื่อนาซีเยอรมันสามารถยึดปารีสได้แล้ว ชาวฝรั่งเศสได้ตัดลิฟท์ออก ทำให้ฮิตเลอร์ต้องปีนบันได 1,665 ขั้น แต่เขาไม่ปีน เขาให้เอาธงเยอรมันไปปักไว้บนหอแทน
พ.ศ. 2487 (ค.ศ. 1944) เดือนสิงหาคม ฮิตเลอร์สั่ง Dietrich von Choltitz ให้เผาเมืองปารีส และหอทิ้ง แต่เขากลับฝืนคำสั่งไม่เผา เพราะว่าเขาเสียดายเมือง
พ.ศ. 2499 (ค.ศ. 1956) วันที่ 3 มกราคม ไฟไหม้ยอดของหอ และในปีเดียวกันนั้นก็ได้นำเสาอากาศวิทยุไปติ้งตั้งบนยอดด้วย
ทศวรรษที่ 1980 ได้มีการเคลื่อนย้ายรื้อร้านอาหารที่เก่าแก่ในหอออก ไปสร้างใหม่ในเมืองนิวออร์ลีนส์ รัฐหลุยเซียนา สหรัฐอเมริกาแทน
พ.ศ. 2543 (ค.ศ. 2000) ได้มีการติดตั้งโคมไฟบนยอดของหอ
พ.ศ. 2545 (ค.ศ. 2002) วันที่ 28 พฤศจิกายน หอไอเฟลต้อนรับแขกคนที่ 200 ล้าน
พ.ศ. 2546 (ค.ศ. 2003) วันที่ 22 กรกฎาคม ไฟไหม้ยอดของหอ ในห้องเก็บของอีกครั้ง ใช้เวลาดับไฟประมาณ 40 นาที
ไข่อีสเตอร์ กับความเชื่อทั้งเรื่องการกำเนิดใหม่และคู่ชีวิตในอนาคต
คำถามเก่าแก่ไม่มีวันจบที่ว่านี้คือ "ไก่กับไข่ อะไรเกิดก่อนกัน?" บอกถึงที่มาของไข่ที่แฝงอยู่ในเทพนิยายมหัศจรรย์และนิทานหลายเรื่อง ไข่จึงเป็นสัญลักษณ์แห่งกำเนิดชีวิตที่มีอยู่ในหลายๆ ความเชื่อทั่วโลก และสิ่งหนึ่งที่เห็นพ้องต้องกันคือ ไข่เป็นตัวแทนหรือเครื่องหมายแห่ง "ความโชคดี" ในทุกๆ ความเชื่อและทุกวัฒนธรรม การระบายสีบนเปลือกไข่ในพิธีฉลองเทศกาลอีสเตอร์ คือประเพณีเก่าแก่ที่รู้จักกันดีเกี่ยวกับไข่ในวัฒนธรรมแบบตะวันตก อาจเป็นเพราะไข่สงบนิ่งด้วยการหลับใหล และเปลือกปริแตกออกเพื่อนำไปสู่การมีชีวิตใหม่ ไข่ในเทศกาลอีสเตอร์จึงเป็นการแสดงถึงการกำเนิดใหม่ของพระเยซู
ธรรมเนียมเกี่ยวกับไข่อีสเตอร์มีที่มาจากเรื่องเล่าเกี่ยวกับ มารี แมกดาลีน เธอได้นำตะกร้าใส่ไข่ไปให้แก่ทหารโรมันอย่างทุกข์เวทนาเพื่อให้ทหารเหล่านั้นลดการกระทำอันเหี้ยมโหดต่อพระองค์ จนกระทั่งน้ำตาของเธอได้หยดลงบนไข่ในตะกร้า ปาฏิหาริย์ก็ได้บังเกิดขึ้น ทำให้เปลือกไข่กลายเป็นมีสีสันสวยงาม ในประเทศยุโรปบางแห่งอาจไม่นิยมระบายสีไข่อีสเตอร์หลายสี แต่จะระบายด้วยสีแดงสีเดียว เป็นสัญลักษณ์หมายถึงพระโลหิตของพระเจ้า ในศาสนายูดาย (เป็นศาสนาเก่าแก่ของชาวยิว) ไข่ได้ถูกนำมาเป็นส่วนหนึ่งในวัฒนธรรมสำคัญของชาวยิว คือ เทศกาลแพสโอเวอร์" หรือที่รู้จักกันในแถบยุโรปว่า "เทศกาลปัสกา" ซึ่งจะเป็นการที่ชาวยิวนำไข่มาต้มจนแข็ง แล้วจุ่มลงในน้ำเกลือแล้วนำมาต้มใหม่อีกครั้ง เพื่อให้ไข่แดงข้างในแข็งตัว ว่ากันว่า การทำแบบนี้เป็ฯการเตือนให้รำลึกถึงไข่ที่เป็นตัวแทนของการกำเนิดชีวิตใหม่จากน้ำตาที่หลังไหลของทาสชาวฮีบรูในอียิปต์
ในประเทศจีน หากครอบครัวใดมีทารกเกิดใหม่ ก็จะมีการป่าวประกาศเพื่อแสดงถึงความยินดีต่อเพื่อนบ้าน พวกเขาจะนิยมต้มไข่แดงเพื่อนำมาเลี้ยงฉลอง การที่ไข่ถูกย้อมเป็นสีแดง เป็นความหมายถึงชีวิตใหม่ที่ได้กำเนิดขึ้นมาแล้ว.....ในทางตรงข้ามกัน ก็มีความเชื่อแปลกๆ เกี่ยวกับไข่ เช่น ชาวญี่ปุ่นเชื่อถือในโชคลางว่า ถ้าผู้หญิงก้าวเท้าข้ามเปลือกไข่เป็นสิ่งที่ไม่ดี และผู้หญิงคนนั้นก็จะกลายเป็นบ้า ในขณะที่หลายๆ ประเทศทางตะวันออก กลับมีความเชื่อแปลกๆ ว่า ถ้าคุณต้องการรู้ว่าใครคือคู่รักคู่ชีวิตของคุณ ให้ลองต้มไข่จนสุกแล้วกะเทาะเอาไข่แดงออก จากนั้นให้เติมช่องตรงกลางไข่ด้วยเกลือ แล้วทานไข่ใบนั้นในมื้อค่ำ เชื่อกันว่า ในคืนนั้นคุณจะฝันเห็นคนรักในอนาคต!! ...............
วันพฤหัสบดีที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2553
Angkor Wat
นครวัด ( Angkor Wat )
ผู้สร้าง : พระเจ้าสุริยวรมันที่ 2
ศิลปะ : นครวัด
เกริ่นนำ
ความยิ่งใหญ่อลังการของปราสาท นครวัด นั้น ไม่ได้มาจากเพียงแค่ขนาดอันใหญ่โตมโหฬาร ของตัวปราสาทเท่านั้น แต่ยังรวมถึงประวัติศาสตร์ และตำนานที่ซ่อนตัวภายในด้วย
การเที่ยวนครวัด ควรที่จะมีข้อมูลกันก่อนครับ ว่าภาพแกะสลักแต่ละภาพมีความเป็นมาอย่างไร
มีตำนานไหนที่เกี่ยวข้องบ้าง อย่างเช่น ภาพสลักราหูอมจันทร์ ซึ่งไปเกี่ยวเนื่องกับ ตำนานการกวเกษียรสมุทร ที่จะทำให้รู้ว่า ทำไมราหูซึ่งร่างกายขาดเป็นสองท่อนแล้วถึงยังไม่ตาย ทำไมถึงได้เคียดแค้น พระอาทิตย์ กับพระจันทร์ จนถึงกับต้องจับกินทุกครั้งที่พบกัน การเที่ยวปราสาทต่าง ๆ ในนครวัดนั้น จะสนุกสนาน ทำให้เรารู้สึกว่านครวัดนั้นมีคุณค่า่ จากเรื่องราวที่อยู่ภายในเหล่านี้ มากกว่าเป็นแค่กองหินขนาดใหญ่ ซึ่งนำมาซ้อนกัน อย่างที่ี่เทคโนโลยี ปัจจุบันสามารถสร้างให้แล้วเสร็จในเวลาแค่ไม่กี่ปี
ประวัติ
นครวัด สร้างขึ้นอย่างยิ่งใหญ่ในรัชสมัย พระเจ้าสุริยวรมันที่ 2 ซึ่งครองราชย์อยู่ในช่วง พ.ศ. 1650-1693 ซึ่งขณะนั้นศาสนาพราหมณ์ นิกายไวษณพนิกาย (นับถือ พระวิษณุเป็นใหญ่) กำลัง รุ่งเรืองอยู่ในอาณาจักรขอม
พระเจ้าสุริยวรมันที่ 2 จึงโปรดให้สร้างนครวัด เพื่อบูชาพระวิษณุ และนอกจากนั้นแล้ว ก็เพื่อให้เป็นที่ เก็บพระศพของพระองค์ เมื่อยามสิ้นพระชนม์แล้วด้วย ดังนั้น นครวัด จึงแตกต่างกับปราสาทอื่นๆ ตรงที่หันหน้าไปทางทิศตะวันตก ซึ่งเป็นทิศของผู้ตาย แทนทิศตะวันออก ตามธรรมเนียมของขอม จะมีการตั้งพระนามใหม่ ถวายกับกษัตริย์ที่สิ้นพระชนม์แล้ว พระเจ้าสุริยวรมันที่ 2 นั้นมีพระนามหลังสิ้นพระชนม์ว่า "บรมวิษณุ" นครวัด จึงมีอีกชื่อว่า "บรมวิษณุมหาปราสาท" ในการสร้างปราสาท ต้องใช้หินปริมาตรหลายล้าน ลูกบาศก์เมตร ที่นำมา จากเทือกเขาพนมกุเลน ซึ่งอยู่ห่าง จากนครวัดกว่า 50 กม. โดยใช้ช้างนับพันเชือก ในการขนย้าย ใช้แรงงานนับแสนคนในการก่อสร้างตบแต่ง ใช้เวลา สร้างกว่า 30 ปี จนสิ้นรัชสมัยของ พระเจ้าสุริยวรมันที่ 2 ก็ยังไม่แล้วเสร็จ แม้จะมีการสร้างต่อในสมัย พระเ้จ้าชัยวรมันที่ 7 และสมัย นักองค์จันทร์ ถึงกระนั้น ก็ยังไม่เสร็จ สมบูรณ์ดี นครวัดนั้น ไม่ได้เป็นเพียงศาสนสถานเท่านั้น แต่ยังเป็นราชธานีของอาณาจักรขอมด้วย ภายในนครวัด จึงมีพื้นที่กว้างใหญ่มาก มีความยาวถึง 1.5 กม. และกว้าง 1.3 กม. รวมเป็นพื้นที่ประมาณ 1,219 ไร่ (2 ตารางกม.)นครวัดถูกล้อมรอบด้วยบึงน้ำขนาดใหญ่ มีสะัพานเชื่อมสู่ภายนอก เฉพาะประตูทิศตะวันตก และประตูทิศตะวันออกเท่านั้น
คำว่า "นครวัด" มาจากคำว่า "นอกอร์วัด" ซึ่งคำว่า "นอกอร์" นั้น หมายถึง นคร ในสมัย นักองค์จันทร์ พระองค์ทรงนับถือศาสนาพุทธ เทวาลัยแห่งนี้จึงกลายเป็นวัด ในศาสนาพุทธ กลายเป็นที่มาของคำว่า "วัด" ใน "นอกอร์วัด" นั่นเอง
เมื่อชาวฝรั่งเศสเข้ามาพบนครวัด ได้เรียกชื่อของนครวัดเพี้ยนไปจาก "นอกอร์วัด" เป็น "อังกอร์วัด" และใช้มาว่า อังกอร์วัด มาจนทุกวันนี้
ภายนอกปราสาท
1. สะพานนาคราช
สะพานนาคราช เป็นสะพานที่ประกอบด้วยรูปสลักลอยพญานาคขนาดใหญ่ ขนานไปกับตัวสะพาน สะพานนี้ทอดข้ามสระน้ำขนาดใหญ่หน้าปราสาทนครวัด มุ่งตรงเข้าสู่โคปุระตะวันตก
2. โคปุระ
โคปุระ หมายถึุง พลับพลาทางเข้าของนครวัด ซึ่งนครวัดนั้น มีโคปุระซึ่งเป็นทางเข้าอยู่ 2 ทิศคือ โคปุระตะวันตก และโคปุระตะวันออก
2.1 โคปุระตะวันตก
โคปุระตะวันตก ซึ่งเป็นโคปุระที่ค่อนข้างสมบูรณ์ ตั้งอยู่ทางด้านหน้าของ นครวัด ด้านหน้าของโคปุระตะวันตก จะมีบาราย(บาราย = สระน้ำ) อยู่ด้วย โคปุีระตะวันตก มีอยู่ทางเข้าอยู่ 5 ประตู ประตูกลางนั้นไว้สำหรับกษัตริย์เท่านั้น จุดที่พลาดไม่ได้คือ โคปุระทางฝั่งขวามือ ซึ่งเป็นที่ประดิษฐาน พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร อยู่ ซึ่งชาวพุทธต่างนับถือและเข้ามานมัสการเป็นนิตย์ นอกจากนี้แล้วบริเวณ โคปุระตะวันตก ยังมีรูป อัปสรายิ้มเห็นฟัน ซึ่งมีเพียงรูปเดียวในหมู่อัปสรากว่า 2,000 รูปในปราสาทนครวัด
โคปุระตะวันออก มาก มีขนาดย่อมกว่า โคปุระตะวันตก และลักษณะจะทรุดโทรมมากกว่า โคปุระตะวันตก อยู่มาก นักท่องเที่ยวส่วนใหญ่ จึงไม่นิยมเข้า-ออก ทางโคปุระตะวันออก ซึ่งกลับกลายเป็นอีกสเน่ห์ของโคปุระตะวันออก ที่นักท่องเที่ยว สามารถเลือกมุมถ่ายรูปได้มากกว่า
3. รูปเงาสะืท้อนน้ำของมหาปราสาทนครวัด
หากใครมาเที่ยวชมนครวัด และยังไม่ได้ถ่ายรูปเงาสะท้อนของมหาปราสาทนครวัด บนสระน้ำขนาดใหญ่หน้าปราสาท ก็ถือได้ว่ายังมาไม่ถึงนครวัด ผิวน้ำทีเ่รียบราวกระจกจะสะท้อนให้เห็นปรางค์ทั้งห้าของปราสาทนครวัดอย่างชัดเจน
ภายในปราสาท
1. ภาพสลักที่ระเบียงคตชั้นใน
ภาพสลักที่ระเบียงคตชั้นใน ของนครวัดมีความยาวกว่า 600 เมตร
ซึ่งมีภาพสลักสำคัญ ๆ ได้แก่
- ภาพสลักการกวนเกษียรสมุทร
- ภาพสลักการรบที่ทุ่งกุรุเกษตร ซึ่งเป็นการรบระหว่าง ตระกูลเการพ และปาณฑพ จาก มหากาพย์มหาภารตะยุทธ
- ภาพสลักการต่อสู้ระหว่างเทพกับยักษ์ จาก รามายณะ
- ภาพสลักขบวนทัพของพระเจ้าสุริยวรมันที่ 2 เมื่อยกทัพไปปราบพวกจาม ซึ่งในนั้นก็จะมีขบวนทัพของ สยามกุก หรือ ประเทศสยาม เข้าร่วมด้วยในฐานะประเทศราช
นอกจากนี้ที่ระเบียงคตชั้นในยังมีภาพสลักในศาสนาฮินดูอีกมากมาย
ผู้สร้าง : พระเจ้าสุริยวรมันที่ 2
ศิลปะ : นครวัด
เกริ่นนำ
ความยิ่งใหญ่อลังการของปราสาท นครวัด นั้น ไม่ได้มาจากเพียงแค่ขนาดอันใหญ่โตมโหฬาร ของตัวปราสาทเท่านั้น แต่ยังรวมถึงประวัติศาสตร์ และตำนานที่ซ่อนตัวภายในด้วย
การเที่ยวนครวัด ควรที่จะมีข้อมูลกันก่อนครับ ว่าภาพแกะสลักแต่ละภาพมีความเป็นมาอย่างไร
มีตำนานไหนที่เกี่ยวข้องบ้าง อย่างเช่น ภาพสลักราหูอมจันทร์ ซึ่งไปเกี่ยวเนื่องกับ ตำนานการกวเกษียรสมุทร ที่จะทำให้รู้ว่า ทำไมราหูซึ่งร่างกายขาดเป็นสองท่อนแล้วถึงยังไม่ตาย ทำไมถึงได้เคียดแค้น พระอาทิตย์ กับพระจันทร์ จนถึงกับต้องจับกินทุกครั้งที่พบกัน การเที่ยวปราสาทต่าง ๆ ในนครวัดนั้น จะสนุกสนาน ทำให้เรารู้สึกว่านครวัดนั้นมีคุณค่า่ จากเรื่องราวที่อยู่ภายในเหล่านี้ มากกว่าเป็นแค่กองหินขนาดใหญ่ ซึ่งนำมาซ้อนกัน อย่างที่ี่เทคโนโลยี ปัจจุบันสามารถสร้างให้แล้วเสร็จในเวลาแค่ไม่กี่ปี
ประวัติ
นครวัด สร้างขึ้นอย่างยิ่งใหญ่ในรัชสมัย พระเจ้าสุริยวรมันที่ 2 ซึ่งครองราชย์อยู่ในช่วง พ.ศ. 1650-1693 ซึ่งขณะนั้นศาสนาพราหมณ์ นิกายไวษณพนิกาย (นับถือ พระวิษณุเป็นใหญ่) กำลัง รุ่งเรืองอยู่ในอาณาจักรขอม
พระเจ้าสุริยวรมันที่ 2 จึงโปรดให้สร้างนครวัด เพื่อบูชาพระวิษณุ และนอกจากนั้นแล้ว ก็เพื่อให้เป็นที่ เก็บพระศพของพระองค์ เมื่อยามสิ้นพระชนม์แล้วด้วย ดังนั้น นครวัด จึงแตกต่างกับปราสาทอื่นๆ ตรงที่หันหน้าไปทางทิศตะวันตก ซึ่งเป็นทิศของผู้ตาย แทนทิศตะวันออก ตามธรรมเนียมของขอม จะมีการตั้งพระนามใหม่ ถวายกับกษัตริย์ที่สิ้นพระชนม์แล้ว พระเจ้าสุริยวรมันที่ 2 นั้นมีพระนามหลังสิ้นพระชนม์ว่า "บรมวิษณุ" นครวัด จึงมีอีกชื่อว่า "บรมวิษณุมหาปราสาท" ในการสร้างปราสาท ต้องใช้หินปริมาตรหลายล้าน ลูกบาศก์เมตร ที่นำมา จากเทือกเขาพนมกุเลน ซึ่งอยู่ห่าง จากนครวัดกว่า 50 กม. โดยใช้ช้างนับพันเชือก ในการขนย้าย ใช้แรงงานนับแสนคนในการก่อสร้างตบแต่ง ใช้เวลา สร้างกว่า 30 ปี จนสิ้นรัชสมัยของ พระเจ้าสุริยวรมันที่ 2 ก็ยังไม่แล้วเสร็จ แม้จะมีการสร้างต่อในสมัย พระเ้จ้าชัยวรมันที่ 7 และสมัย นักองค์จันทร์ ถึงกระนั้น ก็ยังไม่เสร็จ สมบูรณ์ดี นครวัดนั้น ไม่ได้เป็นเพียงศาสนสถานเท่านั้น แต่ยังเป็นราชธานีของอาณาจักรขอมด้วย ภายในนครวัด จึงมีพื้นที่กว้างใหญ่มาก มีความยาวถึง 1.5 กม. และกว้าง 1.3 กม. รวมเป็นพื้นที่ประมาณ 1,219 ไร่ (2 ตารางกม.)นครวัดถูกล้อมรอบด้วยบึงน้ำขนาดใหญ่ มีสะัพานเชื่อมสู่ภายนอก เฉพาะประตูทิศตะวันตก และประตูทิศตะวันออกเท่านั้น
คำว่า "นครวัด" มาจากคำว่า "นอกอร์วัด" ซึ่งคำว่า "นอกอร์" นั้น หมายถึง นคร ในสมัย นักองค์จันทร์ พระองค์ทรงนับถือศาสนาพุทธ เทวาลัยแห่งนี้จึงกลายเป็นวัด ในศาสนาพุทธ กลายเป็นที่มาของคำว่า "วัด" ใน "นอกอร์วัด" นั่นเอง
เมื่อชาวฝรั่งเศสเข้ามาพบนครวัด ได้เรียกชื่อของนครวัดเพี้ยนไปจาก "นอกอร์วัด" เป็น "อังกอร์วัด" และใช้มาว่า อังกอร์วัด มาจนทุกวันนี้
ภายนอกปราสาท
1. สะพานนาคราช
สะพานนาคราช เป็นสะพานที่ประกอบด้วยรูปสลักลอยพญานาคขนาดใหญ่ ขนานไปกับตัวสะพาน สะพานนี้ทอดข้ามสระน้ำขนาดใหญ่หน้าปราสาทนครวัด มุ่งตรงเข้าสู่โคปุระตะวันตก
2. โคปุระ
โคปุระ หมายถึุง พลับพลาทางเข้าของนครวัด ซึ่งนครวัดนั้น มีโคปุระซึ่งเป็นทางเข้าอยู่ 2 ทิศคือ โคปุระตะวันตก และโคปุระตะวันออก
2.1 โคปุระตะวันตก
โคปุระตะวันตก ซึ่งเป็นโคปุระที่ค่อนข้างสมบูรณ์ ตั้งอยู่ทางด้านหน้าของ นครวัด ด้านหน้าของโคปุระตะวันตก จะมีบาราย(บาราย = สระน้ำ) อยู่ด้วย โคปุีระตะวันตก มีอยู่ทางเข้าอยู่ 5 ประตู ประตูกลางนั้นไว้สำหรับกษัตริย์เท่านั้น จุดที่พลาดไม่ได้คือ โคปุระทางฝั่งขวามือ ซึ่งเป็นที่ประดิษฐาน พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร อยู่ ซึ่งชาวพุทธต่างนับถือและเข้ามานมัสการเป็นนิตย์ นอกจากนี้แล้วบริเวณ โคปุระตะวันตก ยังมีรูป อัปสรายิ้มเห็นฟัน ซึ่งมีเพียงรูปเดียวในหมู่อัปสรากว่า 2,000 รูปในปราสาทนครวัด
โคปุระตะวันตก นครวัด
2.2 โคปุระตะวันออก
โคปุระตะวันออก มาก มีขนาดย่อมกว่า โคปุระตะวันตก และลักษณะจะทรุดโทรมมากกว่า โคปุระตะวันตก อยู่มาก นักท่องเที่ยวส่วนใหญ่ จึงไม่นิยมเข้า-ออก ทางโคปุระตะวันออก ซึ่งกลับกลายเป็นอีกสเน่ห์ของโคปุระตะวันออก ที่นักท่องเที่ยว สามารถเลือกมุมถ่ายรูปได้มากกว่า
3. รูปเงาสะืท้อนน้ำของมหาปราสาทนครวัด
หากใครมาเที่ยวชมนครวัด และยังไม่ได้ถ่ายรูปเงาสะท้อนของมหาปราสาทนครวัด บนสระน้ำขนาดใหญ่หน้าปราสาท ก็ถือได้ว่ายังมาไม่ถึงนครวัด ผิวน้ำทีเ่รียบราวกระจกจะสะท้อนให้เห็นปรางค์ทั้งห้าของปราสาทนครวัดอย่างชัดเจน
ภายนอกปราสาท
ภายในปราสาท
1. ภาพสลักที่ระเบียงคตชั้นใน
ภาพสลักที่ระเบียงคตชั้นใน ของนครวัดมีความยาวกว่า 600 เมตร
ซึ่งมีภาพสลักสำคัญ ๆ ได้แก่
- ภาพสลักการกวนเกษียรสมุทร
- ภาพสลักการรบที่ทุ่งกุรุเกษตร ซึ่งเป็นการรบระหว่าง ตระกูลเการพ และปาณฑพ จาก มหากาพย์มหาภารตะยุทธ
- ภาพสลักการต่อสู้ระหว่างเทพกับยักษ์ จาก รามายณะ
- ภาพสลักขบวนทัพของพระเจ้าสุริยวรมันที่ 2 เมื่อยกทัพไปปราบพวกจาม ซึ่งในนั้นก็จะมีขบวนทัพของ สยามกุก หรือ ประเทศสยาม เข้าร่วมด้วยในฐานะประเทศราช
นอกจากนี้ที่ระเบียงคตชั้นในยังมีภาพสลักในศาสนาฮินดูอีกมากมาย
วันอังคารที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2553
แม่ชีเซนต์เทเรซา
แม่ชีเทเรซา
แม่ชีเทเรซา (26 สิงหาคม พ.ศ. 2453 – 5 กันยายน พ.ศ. 2540) เป็นแม่ชีในศาสนาคริสต์ นิกายโรมันคาทอลิก มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันดีในฐานะผู้นำและผู้ต่อสู้เพื่อคนยากไร้ทั้งในประเทศที่ยากจนและร่ำรวย จนเมื่อปี พ.ศ. 2522 (ค.ศ. 1979) ท่านจึงได้รับเกียรติให้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ และหลังจากที่ท่านถึงแก่กรรม สำนักวาติกัน โดย สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์น ปอล ที่ 2 ได้ประกาศให้ท่านเป็น "นักบุญราศี" ซึ่งเป็นขั้นเริ่มต้นของการเป็นนักบุญ ผ่านพิธีบุญราศีในนามว่า "นักบุญราศีเทเรซาแห่งกัลกัตตา"
ภาพแม่ชีเทเรซา ถ่ายเมื่อปี 2533
ประวัติ
วัยเยาว์
เเม่ชีเทเรซา เป็นธิดาของนายนิโคล บอญักซุย (NiKolle Bojaxhui) กับนาง ดรานา เบอร์ไน (Drana Bernai) จากเชื้อสายชาวอิตาเลียน เป็นครอบครัวชนชั้นกลาง คุณแม่เทเรซาเกิดวันที่ 26 สิงหาคม 1910 ได้รับพิธีรับศีลล้างบาป (Baptized) ณ วัดดวงพระหฤทัยศักดิ์สิทธิ์ของพระเยซูเจ้า ที่เมือง สคอปเจ (Skopje) เมืองหลวงของสาธารณรัฐอัลบาเนียนแห่งมาเซโดเนีย ในวันที่ 27 สิงหาคม 1910 และได้รับนามว่า กอนซา (Gonxha) หรือ อักแนส (Agnes) อักแนสเป็นลูกคนที่สามและคนสุดท้อง มีพี่สาวคนโตชื่ออาก้า (Aga) พี่ชายชื่อ ลาซาร์ (Lazar)
เธอมีชื่อเดิมว่า "แอ็กเนส กอนจา โบยาจู" (Agnes Gonxha Bojaxhiu) มีบิดาเป็นชาวคริสต์ที่เคร่งครัดในหลักศาสนา ซึ่งทำให้ตั้งแต่วัยเด็กแอ็กเนสชอบไปโบสถ์ฟังหลวงพ่อเทศน์มาโดยตลอด เเละขณะแอ็กเนสมีอายุ 9 ปี ในปี พ.ศ. 2462 (ค.ศ. 1919) บิดาของเธอได้เสียชีวิตลง แต่ความอบอุ่นภายในครอบครัวที่แอ็กเนสได้รับก็ไม่ได้ลดลง ด้วยเพราะมารดายังให้ความรักความอบอุ่นและการเลี้ยงดูที่ดีมาตลอด แอ็กเนสเติบโตขึ้นเป็นเด็กร่าเริง และมีสุขภาพดี และไม่นานต่อมาเธอก็ได้รู้จักกับประเทศอินเดีย แต่ก็ได้รู้ว่าอินเดียในขณะนั้นมีระบบสาธารณูปโภคที่ยังล้าหลังอยู่มาก มีคนยากไร้มากมายในประเทศที่ต้องทนทรมาน และเริ่มสงสัยว่า จะมีวิธีใดบ้างไหมที่เธอจะได้ช่วยเหลือผู้ทุกข์ยากในอินเดีย ซึ่งในช่วงเวลานี้นี่เองที่แอ็กเนสเริ่มมีความคิดที่จะบวชเป็นแม่ชี
ความสนใจของอักแนสในดินแดนธรรมทูต ได้รับการยืนยันจากเสียงเรียกชัดเจนให้เข้าสู่ชีวิตนักบวช ในขณะที่เธอกำลังสวดภาวนาอยู่หน้าพระแท่นรูปพระแม่มารีย์องค์อุปถัมภ์แห่งสคอปเจ (Patroness of Skopje) "พระแม่สวดภาวนาเพื่อดิฉัน และช่วยดิฉันให้ค้นพบ พระกระแสเรียกของตนเอง" ด้วยคำแนะนำและความช่วยเหลือของพระสงฆ์คณะเยสุอิต ชาวยูโกสลาเวียผู้หนึ่ง เธอจึงได้ขอสมัครเข้าคณะซิสเตอร์แม่พระแห่งลอเร็ตโต (ซึ่งเรียกกันทั่วไปว่าซิสเตอร์ไอริช) เธอถูกดึงดูดจากการทำงานธรรมทูตของซิสเตอร์เหล่านี้ในประเทศอินเดีย
พ.ศ. 2471 (ค.ศ. 1928) แอ็กเนสตัดสินใจขออนุญาตครอบครัวเพื่อขอบวชเป็นแม่ชี ตอนแรกครอบครัวคัดค้าน แต่ต่อมาไม่กี่วันทางครอบครัวก็ยอมให้เธอบวช แอ็กเนสเดินทางไปบวชที่สำนักชีโลเรโต (Sisters of Loreto) ในกรุงดับลิน ประเทศไอร์แลนด์ ซึ่งการลาจากจากครอบครัวของเธอในครั้งนี้จะเป็นครั้งสุดท้ายที่เธอจะได้เห็นหน้าของแม่และน้องสาว [4] แอ็กเนสตั้งใจศึกษาเล่าเรียนวิชาที่แม่ชีพึงได้เรียนเป็นเวลา 1 เดือน หลังจากนั้นจึงเดินทางไปยังประเทศอินเดียในเดือนธันวาคมปีเดียวกัน และได้เริ่มออกเผนแผ่คำสอนในเมืองทาร์จีลิง รัฐสิขิม ทางเหนือของประเทศอินเดีย โดยเธอได้พักอยู่ที่สำนักชีโลเรโตที่ตั้งอยู่ที่เมืองทาร์จีลิง
พ.ศ. 2474 (ค.ศ. 1931) แอ็กเนสตัดสินใจเข้าสาบานตนเป็นแม่ชีในสำนักชีโลเรโต ในเมืองดาร์ลีจิงเป็นครั้งแรก และตอนนี้เองที่แอ็กเนสได้รับสมญาทางศาสนา(ชื่อทางศาสนา) ว่า แม่ชีเทเรซา และได้สาบานตนครั้งสุดท้ายใน พ.ศ. 2480 (ค.ศ. 1937)
หลังจากสาบานตนเป็นแม่ชีครั้งสุดท้ายแล้ว แม่ชีเทเรซาได้เข้าเป็นครูวิชาภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ในโรงเรียนสตรีเซนต์มาเรีย ในเมืองเอนทาลี นครกัลกัตตา ไม่นาน ก็ได้เป็นครูใหญ่ของโรงเรียนสตรีเซนต์มาเรีย พาตนเองและเหล่านักเรียนผ่านเหตุการณ์เลวร้าย ที่เกิดจากผลกระทบของเหตุการณ์รุนแรงและสงครามที่เกิดขึ้นต่อเนื่องในอินเดียมาได้ด้วยดี
หลังจากเป็นนวกเณรีได้ 2 ปี อักแนสก็ปฏิญาณตัวครั้งแรก (First vows) เมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม 1931 เป็นซิสเตอร์ในคณะซิสเตอร์พระแม่แห่งลอเร็ตโต และเปลี่ยนชื่อจาก อักแนส เป็น เทเรซาแห่งลิซิเออ
ภารกิจการกุศล
คุณแม่เทเรซาออกจากกัลกัตตา เพื่อไปรับการอบรมหลักสูตรเร่งรัดเรื่องการพยาบาลพื้นฐานเป็นเวลา 3 เดือน จากนั้นก็ลงมือปฏิบัติสิ่งที่เธอปรารถนาคือ อุทิศตนรับใช้คน ยากจนที่สุดในบรรดาคนยากจนทั้งหลาย ตามชุมชนแออัดในเมืองกัลกัตตา ในปีนั้นเองที่เธอยื่นขอและได้รับสิทธิเป็นพลเมืองอินเดีย ซึ่งเธอจะคงไว้จนตลอดชีวิตของเธอ พระสันตะปาปา เปาโลที่ 6 (Pope Paolo VI) ทรงมอบสิทธิเป็นพลเมืองวาติกันให้คุณแม่เทเรซาด้วยในช่วงปลายปี ค.ศ.1970 เพื่อช่วยให้การเดินทางทำงานธรรมทูตของคุณแม่สะดวกขึ้น
วันที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2489 (ค.ศ. 1946) ขณะที่แม่ชีเทเรซากำลังนั่งรถไฟกลับไปยังสำนักชีที่ทาร์จีลิง ระหว่างทางเธอก็ได้ยินพระวจนะของพระเจ้า ซึ่งเนื้อหาที่พระเจ้าพูดกับแม่ชีเทเรซาในขณะนั้น ทำให้แม่ชีเทเรซาตัดสินใจขออนุญาตไปทำงานในสลัม เพื่อช่วยเหลือคนยากจน แต่การทำแบบนั้นถ้าหากทำโดยไม่ได้รับการอนุญาตเป็นพิเศษจะถือว่ามีความผิดทางศาสนา แม่ชีเทเรซาจึงขอให้บาทหลวงใหญ่ (หัวหน้าบาทหลวง ในชุมชนหนึ่งๆ ซึ่งอาจอยู่ตั้งแต่ระดับเมือง ภูมิภาค หรือประเทศ จะมีเพียงหนึ่งท่าน) ขอร้องไปยังพระสันตะปาปา ให้อนุญาตแม่ชีเทเรซาเป็นกรณีพิเศษ
ในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2491 (ค.ศ. 1948) แม่ชีเทเรซาได้รับอนุญาตเป็นพิเศษให้ไปทำงานในสลัมได้ แต่ก่อนนั้นต้องให้มีความรู้เพียงพอเสียก่อน ซึ่งเธอก็ได้เดินทางไปศึกษาวิชาพยายาลที่โรงพยาบาลแห่งหนึ่งในเมืองปัตนา รัฐพิหาร เมื่อศึกษาจบแม่ชีเทเรซาก็ได้ก่อตั้งโรงเรียนกลางแจ้งในสลัม มีเด็กๆ ให้ความสนใจมาเรียนกันมามากมาย หลังจากนั้นไม่นานก็เริ่มมีศิษย์เก่าจากโรงเรียนสตรีเซนต์มาเรียมาขอบวชเป็นผู้ช่วยแม่ชีเทเรซา โดยคนแรกที่มาขอบวช คือ "สวาชินี ดาส" เมื่อบวชแล้วได้รับสมญาทางศาสนาว่า "แม่ชีแอ็กเนส" และไม่นานก็มีศิษย์เก่ามาบวชเพิ่มอีกถึง 10 คน
วันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2493 (ค.ศ. 1950) บาทหลวงใหญ่ได้ตั้งกลุ่มของแม่ชีเทเรซาให้เป็นองค์กรอิสระทางศาสนา มีชื่อว่า "คณะมิชชันนารีแห่งความรักของพระเจ้า" (Missionaries of Charity) โดยแม่ชีเทเรซาได้เป็นหัวหน้าองค์กร ซึ่งนับตั้งแต่นั้นมาผู้คนส่วนใหญ่มักเรียกแม่ชีเทเรซาว่า คุณแม่เทเรซา (Mother Teresa)
วันหนึ่งแม่ชีเทเรซาได้คิดที่จะสร้างบ้านหลังหนึ่ง เพื่อให้ผู้หิวโหยที่นอนรอความตายอยู่ข้างถนนนั้นได้มานอนตายอย่างสงบ และด้วยเหตุนี้ท่านจึงขอยืมให้วัดกาลีของศาสนาฮินดูใช้เป็น "บ้านของผู้รอความตาย" (Home for the Dying) โดยเริ่มเปิดใช้ในปี พ.ศ. 2495 (ค.ศ. 1952) แต่ชาวฮินดูพอสมควรที่ไม่เห็นด้วยกับการที่คุณแม่เทเรซาซึ่งเป็นชาวคริสต์ จะมาใช้วัดของชาวฮินดูเป็นสถานที่ แต่เมื่อผู้บัญชาการตำรวจเข้าไปคุยกับคุณแม่เทเรซา ก็ได้ผลสรุปว่าคุณแม่เทเรซายังใช้สถานที่วัดกาลีอยู่ได้ต่อ
พ.ศ. 2498 (ค.ศ. 1955) มีผู้ใจบุญบริจาคบ้านให้แก่คณะมิชชันนารีแห่งความรักของพระเจ้า เพื่อให้ทางคณะฯ ได้ใช้งานบ้านให้เป็นประโยชน์ต่อคุณแม่เทเรซาและส่วนรวม คุณแม่เทเรซาได้ตัดสินใจใช้บ้านหลังนี้ในการรับเลี้ยงเด็กกำพร้า ตั้งชื่อว่า "บ้านเด็กใจบุญ" (Children's Home of the Immaculate Heart)
พ.ศ. 2500 (ค.ศ. 1957) คุณแม่เทเรซาเริ่มใช้รถพยาบาลเคลื่อนที่ออกรักษาผู้ป่วยที่เป็นชาวไร่ชาวนา โดยโรคที่ชาวไร่ชาวนาป่วยมากที่สุดคือ โรคเรื้อน แต่ในช่วงนั้นสังคมอินเดียยังมองเห็นผู้ป่วยโรคเรื้อนเป็นสิ่งน่ารังเกียจ ผู้ป่วยโรคเรื้อนจึงคิดว่าคนเองไม่มีค่า คุณแม่เทเรซาจึงเริ่มคิดถึงปัญหานี้
พ.ศ. 2508 (ค.ศ. 1965) ที่ทำการของแม่ชีเทเรซาที่อยู่นอกประเทศอินเดียเริ่มเปิดทำการ มีทั้งในยุโรป อเมริกา ออสเตรเลียไม่กี่ปีต่อมา ผู้ว่าการรัฐเบงกอลตะวันตกได้ให้คุณแม่เทเรซายืมใช้แปลงที่ดินที่เมืองอาซันซอลขนาด 140,000 ตารางเมตร (ประมาณ 87.5 ไร่) เพื่อให้ใช้เป็นสถานสงเคราะห์ผู้ป่วยโรคเรื้อน คุณแม่เทเรซาได้แบ่งสรรที่ดินไว้อย่างลงตัว แต่ไม่มีเงินจะสร้างสิ่งปลูกสร้างที่ได้ออกแบบไว้ คุณแม่เทเรซานั่งครุ่นคิดอยู่สักพักก็นึกขึ้นได้ว่าพระสันตะปาปาเคยมอบรถยนต์เปิดประทุนสีขาวบริสุทธิ์ชั้นดี ถ้าขายเฉยๆ จะได้ราคา 100,000 รูปี (ประมาณ 400,000 บาท) แต่นั่นยังไม่เพียงพอ คุณแม่เทเรซาตัดสินใจทำสลาก โดยเอารถคันนั้นเป็นรางวัล ทำสลาก 5,000 ใบ ขายสลากใบละ 100 รูปี (ประมาณ 400 บาท) ใครถูกรางวัลจะได้รับรถพระสันตะปาปาไป การขายสลากแบบนี้ คณะมิชชันนารีของคุณแม่เทเรซา ได้รับเงินถึง 500,000 รูปี (ประมาณ 2,000,000 บาท) ในที่สุดคณะมิชชันนารีของคุณแม่เทเรซาก็ได้สร้างที่ดินขนาดกว่า 80 ไร่ ให้เป็นหมู่บ้านในฝันของผู้ป่วยโรคเรื้อนได้สำเร็จใน พ.ศ. 2511 (ค.ศ. 1968) ตั้งชื่อว่า "หมู่บ้านสันติสุข" มีทั้งโรงพยาบาลและที่อยู่ทั้งสำหรับเหล่าแม่ชีและเหล่าผู้ป่วย มีผู้ป่วยโรคเรื้อนขอเข้ารับการรักษาที่หมู่บ้านสันติสุขนี้มากกว่า 15,000 คน
ไม่นานหลังจากนั้น แม่ชีเทเรซา ก็เปิดที่ทำการอีกแห่งหนึ่ง คราวนี้เป็นการนำกาบมะพร้าวมีรีไซเคิล โดยนำใยมะพร้าวด้านในมาผลิตเป็นสินค้า ตั้งแต่แปรงขัดหม้อ จนถึงพรมนุ่มๆ สินค้าบางชิ้นมีคุณภาพดี ก็สามารถนำไปขายในเมืองไดhไม่นานต่อมา คุณแม่เทเรซาเมื่อรู้ว่า สายการบินต่างๆ จะจัดการอาหารที่ผู้โดยสารกินเหลือโดยการทิ้งทั้งหมด จึงไปขอให้บริษัทสายการบินแอร์อินเดีย มอบอาหารที่ผู้โดยสารกินเหลือมาเป็นอาหารแก่เด็กๆ ใน บ้านเด็กใจบุญ
พ.ศ. 2522 (ค.ศ. 1979) คุณแม่เทเรซาได้รับเกียรติให้รับรางวัลโนเบล สาขาสันติภาพ ในฐานะ "สำหรับการอาสาต่อสู้เพื่อลดความยากจนทุกข์ยากซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการนำไปสู่ความสงบสุขและสันติ" (for work undertaken in the struggle to overcome poverty and distress, which also constitute a threat to peace.) นอกจากนี้ คุณแม่เทเรซาปฏิเสธงานเลี้ยงฉลองที่ท่านได้รับรางวัลโนเบล และขอใหผู้ที่ทำเค้กฉลองมาแล้ว นำเค้กไปมอบให้คนยากคนจน
คุณแม่เดินทางไปเยือนประเทศญี่ปุ่นในปี พ.ศ. 2524 (ค.ศ. 1981) ซึ่งก็ได้ตระเวนปราศรัยไปตามที่ต่างๆ ในประเทศ เนื้อหาส่วนใหญ่คือ ความเหลื่อมล้ำในสังคม การรังเกียจคนจรจัด การกลั่นแกล้งประทุษร้ายกันในญี่ปุ่นพ.ศ. 2525 (ค.ศ. 1982) อิสราเอลมีสงครามกับองค์กรปลดปล่อยปาเลสไตน์ จนเกิดการสู้รบรุนแรงในแถบเอเชียตะวันตก คุณแม่เทเรซาก็เดินทางเข้าไปเพื่อช่วยเหลือเด็กๆ ที่ติดค้างในสถานที่ต่างๆ มาได้ 37 คน
ปั้นปลายชีวิต
พ.ศ. 2526 (ค.ศ. 1983) ขณะคุณแม่เทเรซาไปเยี่ยมสถานสงเคราะห์แห่งหนึ่งในอิตาลี ทานก็เริ่มป่วยเป็นโรคหัวใจ และมีอาการกำเริบครั้งแรก โดยมีหัวใจเต้นอ่อนเกินไป แต่ปลอดภัย หลังจากนั้น คุณแม่เทเรซาก็ทำงานอยู่เหมือนปกติ แต่อาการโรคหัวใจก็มาเยือนอยู่เรื่อยๆ จนในที่สุด คุณแม่เทเรซา ได้ยื่นจดหมายต่อพระสันตะปาปา ว่า ขอลาออกจากตำแหน่งหัวหน้าคณะมิชชันนารีแห่งความรักของพระเจ้า พร้อมกับอยากให้มีการเลือกตั้งขึ้นเพื่อเลือกผู้ที่จะมาสืบทอดตำแหน่งจากตน ตอนแรกเหล่าแม่ชีต่างคัดค้าน แต่เมื่อรู้ว่าคุณแม่เทเรซาจะให้จัดการเลือกตั้งผู้สืบทอดตำแหน่ง จึงเทคะแนนเสียงให้คุณแม่เทเรซา แล้วผลการเลือกตั้งก็คือ คุณแม่เทเรซาก็ได้รับเลือกตั้งกลับมาเป็นหัวหน้าคณะฯ อีกครั้ง
การทำงานของท่านก็มีอาการโรคหัวใจกำเริบมารบกวนท่านบ่อยขึ้น อาการป่วยในระดับหนักมากเกิดขึ้นกับแม่ชีเทเรซาอีกใน พ.ศ. 2532 (ค.ศ. 1989) และอีกครั้งใน พ.ศ. 2539 (ค.ศ. 1996) หลังจากนั้น คุณแม่เทเรซา ก็ป่วยหนักถึงขนาดล้มหมอนนอนเสื่อ ลุกนั่งไม่ได้
คุณแม่เทเรซาป่วยเป็นโรคหัวใจ และต้องเข้าโรงพยาบาลถึง 2 ครั้ง มิใช่เป็นครั้งแรกที่คุณแม่เทเรซาตรากตรำทำงานหนักจนถึงขั้นหมดเรี่ยวแรง และต้องถูกส่งโรงพยาบาล แม้สมเด็จพระสันตะปาปา ก็ยังทรงขอร้องคุณแม่ให้ดูแลเอาใจใส่สุขภาพของตัวเธอเองบ้าง แพทย์คอยตรวจสอบเธอเป็นระยะ ๆ แล้วยังสั่งให้คุณแม่พักรักษาตัวเป็นเวลา 6 เดือนในวันที่ 16 เมษายน 1990 คุณแม่เทเรซาลาออกจากตำแหน่งคุณแม่มหาธิการิณีของคณะธรรมทูตแห่งเมตตาธรรม เนื่องจากสุขภาพไม่ดี เมื่อผ่อนคลายจากภาระรับผิดชอบต่าง ๆ แล้ว คุณแม่เทเรซาก็สามารถเดินทางไปเยี่ยมบ้านซิสเตอร์ของคณะในที่ต่าง ๆ ได้มากขึ้น
เดือนกันยายน 1990 คุณแม่เทเรซาได้รับการเรียกร้องให้พักจากการเกษียณและได้รับเลือกเป็นมหาธิการิณีของคณะธรรมทูตแห่งเมตตาธรรมอีกครั้ง เนื่องจากบรรดาซิสเตอร์ทราบเป็นอย่างดีถึงอัจฉริยภาพความเป็นผู้นำฝ่ายจิตของคุณแม่เทเรซาในคณะซิสเตอร์ ธรรมทูตแห่งเมตตาธรรม จึงได้เลือกคุณแม่เป็นผู้นำอีกครั้งหนึ่ง แม้ว่าคุณแม่จะมีอายุ 80 ปีและสุขภาพไม่สู้ดีนักก็ตามในปี 1997 คุณแม่เทเรซา ได้ลาออกจากผู้นำคณะ เนื่องจากเจ็บป่วยมาก ในวันที่ 13 มีนาคม ซิสเตอร์นิรุมารา ได้รับเลือกเป็นผู้นำคณะคนใหม่
วันที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2540 (ค.ศ. 1997) คุณแม่เทเรซาได้เสียชีวิตลงที่บ้านของคุณแม่ในอินเดีย ขณะอายุ 87 ปี กับอีก 10 วัน โดยคำพูดคำสุดท้ายที่คุณแม่ได้พูดออกมาคือ "หายใจไม่ออกแล้ว" ทางการอินเดียได้จัดพิธีศพของคุณแม่เทเรซาอย่างยิ่งใหญ่ เป็นงานศพระดับชาติ (งานศพของบุคคลที่ทุ่มเทอุทิศตนเพื่อประเทศนั้นๆ) ของทางการอินเดีย
ในช่วงเวลาที่คุณแม่เสียชีวิต คณะมิชชันนารีแห่งความรักของพระเจ้ามีแม่ชีมากว่า 4,000 คนและอาสาสมัครกว่าอีก 1 แสนคน ซึ่งอัตรานี้ครอบคลุมไปถึงกว่า 610 แห่ง 123 ประเทศทั่วโลก ปัจจุบันร่างของแม่ชีนอนหลับอยู่ที่บ้านคุณแม่ในอินเดีย เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2546 (ค.ศ. 2003) สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์น ปอล ที่ 2 ได้ประกาศให้คุณแม่เป็น นักบุญราศี
อนุเสาวรีย์แม่ชีเทเรซา ในอัลบาเนีย ถ่ายเมื่อ พ.ศ. 2550
สถานที่เกิดของแม่ชีเทเรซา ปัจจุบันมีป้ายบ่งบอกไว้อย่างชัดเจนในเมืองสโกเปีย
แม่ชีเทเรซา (26 สิงหาคม พ.ศ. 2453 – 5 กันยายน พ.ศ. 2540) เป็นแม่ชีในศาสนาคริสต์ นิกายโรมันคาทอลิก มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันดีในฐานะผู้นำและผู้ต่อสู้เพื่อคนยากไร้ทั้งในประเทศที่ยากจนและร่ำรวย จนเมื่อปี พ.ศ. 2522 (ค.ศ. 1979) ท่านจึงได้รับเกียรติให้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ และหลังจากที่ท่านถึงแก่กรรม สำนักวาติกัน โดย สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์น ปอล ที่ 2 ได้ประกาศให้ท่านเป็น "นักบุญราศี" ซึ่งเป็นขั้นเริ่มต้นของการเป็นนักบุญ ผ่านพิธีบุญราศีในนามว่า "นักบุญราศีเทเรซาแห่งกัลกัตตา"
ภาพแม่ชีเทเรซา ถ่ายเมื่อปี 2533
ประวัติ
วัยเยาว์
เเม่ชีเทเรซา เป็นธิดาของนายนิโคล บอญักซุย (NiKolle Bojaxhui) กับนาง ดรานา เบอร์ไน (Drana Bernai) จากเชื้อสายชาวอิตาเลียน เป็นครอบครัวชนชั้นกลาง คุณแม่เทเรซาเกิดวันที่ 26 สิงหาคม 1910 ได้รับพิธีรับศีลล้างบาป (Baptized) ณ วัดดวงพระหฤทัยศักดิ์สิทธิ์ของพระเยซูเจ้า ที่เมือง สคอปเจ (Skopje) เมืองหลวงของสาธารณรัฐอัลบาเนียนแห่งมาเซโดเนีย ในวันที่ 27 สิงหาคม 1910 และได้รับนามว่า กอนซา (Gonxha) หรือ อักแนส (Agnes) อักแนสเป็นลูกคนที่สามและคนสุดท้อง มีพี่สาวคนโตชื่ออาก้า (Aga) พี่ชายชื่อ ลาซาร์ (Lazar)
เธอมีชื่อเดิมว่า "แอ็กเนส กอนจา โบยาจู" (Agnes Gonxha Bojaxhiu) มีบิดาเป็นชาวคริสต์ที่เคร่งครัดในหลักศาสนา ซึ่งทำให้ตั้งแต่วัยเด็กแอ็กเนสชอบไปโบสถ์ฟังหลวงพ่อเทศน์มาโดยตลอด เเละขณะแอ็กเนสมีอายุ 9 ปี ในปี พ.ศ. 2462 (ค.ศ. 1919) บิดาของเธอได้เสียชีวิตลง แต่ความอบอุ่นภายในครอบครัวที่แอ็กเนสได้รับก็ไม่ได้ลดลง ด้วยเพราะมารดายังให้ความรักความอบอุ่นและการเลี้ยงดูที่ดีมาตลอด แอ็กเนสเติบโตขึ้นเป็นเด็กร่าเริง และมีสุขภาพดี และไม่นานต่อมาเธอก็ได้รู้จักกับประเทศอินเดีย แต่ก็ได้รู้ว่าอินเดียในขณะนั้นมีระบบสาธารณูปโภคที่ยังล้าหลังอยู่มาก มีคนยากไร้มากมายในประเทศที่ต้องทนทรมาน และเริ่มสงสัยว่า จะมีวิธีใดบ้างไหมที่เธอจะได้ช่วยเหลือผู้ทุกข์ยากในอินเดีย ซึ่งในช่วงเวลานี้นี่เองที่แอ็กเนสเริ่มมีความคิดที่จะบวชเป็นแม่ชี
ความสนใจของอักแนสในดินแดนธรรมทูต ได้รับการยืนยันจากเสียงเรียกชัดเจนให้เข้าสู่ชีวิตนักบวช ในขณะที่เธอกำลังสวดภาวนาอยู่หน้าพระแท่นรูปพระแม่มารีย์องค์อุปถัมภ์แห่งสคอปเจ (Patroness of Skopje) "พระแม่สวดภาวนาเพื่อดิฉัน และช่วยดิฉันให้ค้นพบ พระกระแสเรียกของตนเอง" ด้วยคำแนะนำและความช่วยเหลือของพระสงฆ์คณะเยสุอิต ชาวยูโกสลาเวียผู้หนึ่ง เธอจึงได้ขอสมัครเข้าคณะซิสเตอร์แม่พระแห่งลอเร็ตโต (ซึ่งเรียกกันทั่วไปว่าซิสเตอร์ไอริช) เธอถูกดึงดูดจากการทำงานธรรมทูตของซิสเตอร์เหล่านี้ในประเทศอินเดีย
พ.ศ. 2471 (ค.ศ. 1928) แอ็กเนสตัดสินใจขออนุญาตครอบครัวเพื่อขอบวชเป็นแม่ชี ตอนแรกครอบครัวคัดค้าน แต่ต่อมาไม่กี่วันทางครอบครัวก็ยอมให้เธอบวช แอ็กเนสเดินทางไปบวชที่สำนักชีโลเรโต (Sisters of Loreto) ในกรุงดับลิน ประเทศไอร์แลนด์ ซึ่งการลาจากจากครอบครัวของเธอในครั้งนี้จะเป็นครั้งสุดท้ายที่เธอจะได้เห็นหน้าของแม่และน้องสาว [4] แอ็กเนสตั้งใจศึกษาเล่าเรียนวิชาที่แม่ชีพึงได้เรียนเป็นเวลา 1 เดือน หลังจากนั้นจึงเดินทางไปยังประเทศอินเดียในเดือนธันวาคมปีเดียวกัน และได้เริ่มออกเผนแผ่คำสอนในเมืองทาร์จีลิง รัฐสิขิม ทางเหนือของประเทศอินเดีย โดยเธอได้พักอยู่ที่สำนักชีโลเรโตที่ตั้งอยู่ที่เมืองทาร์จีลิง
พ.ศ. 2474 (ค.ศ. 1931) แอ็กเนสตัดสินใจเข้าสาบานตนเป็นแม่ชีในสำนักชีโลเรโต ในเมืองดาร์ลีจิงเป็นครั้งแรก และตอนนี้เองที่แอ็กเนสได้รับสมญาทางศาสนา(ชื่อทางศาสนา) ว่า แม่ชีเทเรซา และได้สาบานตนครั้งสุดท้ายใน พ.ศ. 2480 (ค.ศ. 1937)
หลังจากสาบานตนเป็นแม่ชีครั้งสุดท้ายแล้ว แม่ชีเทเรซาได้เข้าเป็นครูวิชาภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ในโรงเรียนสตรีเซนต์มาเรีย ในเมืองเอนทาลี นครกัลกัตตา ไม่นาน ก็ได้เป็นครูใหญ่ของโรงเรียนสตรีเซนต์มาเรีย พาตนเองและเหล่านักเรียนผ่านเหตุการณ์เลวร้าย ที่เกิดจากผลกระทบของเหตุการณ์รุนแรงและสงครามที่เกิดขึ้นต่อเนื่องในอินเดียมาได้ด้วยดี
หลังจากเป็นนวกเณรีได้ 2 ปี อักแนสก็ปฏิญาณตัวครั้งแรก (First vows) เมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม 1931 เป็นซิสเตอร์ในคณะซิสเตอร์พระแม่แห่งลอเร็ตโต และเปลี่ยนชื่อจาก อักแนส เป็น เทเรซาแห่งลิซิเออ
ภารกิจการกุศล
คุณแม่เทเรซาออกจากกัลกัตตา เพื่อไปรับการอบรมหลักสูตรเร่งรัดเรื่องการพยาบาลพื้นฐานเป็นเวลา 3 เดือน จากนั้นก็ลงมือปฏิบัติสิ่งที่เธอปรารถนาคือ อุทิศตนรับใช้คน ยากจนที่สุดในบรรดาคนยากจนทั้งหลาย ตามชุมชนแออัดในเมืองกัลกัตตา ในปีนั้นเองที่เธอยื่นขอและได้รับสิทธิเป็นพลเมืองอินเดีย ซึ่งเธอจะคงไว้จนตลอดชีวิตของเธอ พระสันตะปาปา เปาโลที่ 6 (Pope Paolo VI) ทรงมอบสิทธิเป็นพลเมืองวาติกันให้คุณแม่เทเรซาด้วยในช่วงปลายปี ค.ศ.1970 เพื่อช่วยให้การเดินทางทำงานธรรมทูตของคุณแม่สะดวกขึ้น
วันที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2489 (ค.ศ. 1946) ขณะที่แม่ชีเทเรซากำลังนั่งรถไฟกลับไปยังสำนักชีที่ทาร์จีลิง ระหว่างทางเธอก็ได้ยินพระวจนะของพระเจ้า ซึ่งเนื้อหาที่พระเจ้าพูดกับแม่ชีเทเรซาในขณะนั้น ทำให้แม่ชีเทเรซาตัดสินใจขออนุญาตไปทำงานในสลัม เพื่อช่วยเหลือคนยากจน แต่การทำแบบนั้นถ้าหากทำโดยไม่ได้รับการอนุญาตเป็นพิเศษจะถือว่ามีความผิดทางศาสนา แม่ชีเทเรซาจึงขอให้บาทหลวงใหญ่ (หัวหน้าบาทหลวง ในชุมชนหนึ่งๆ ซึ่งอาจอยู่ตั้งแต่ระดับเมือง ภูมิภาค หรือประเทศ จะมีเพียงหนึ่งท่าน) ขอร้องไปยังพระสันตะปาปา ให้อนุญาตแม่ชีเทเรซาเป็นกรณีพิเศษ
ในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2491 (ค.ศ. 1948) แม่ชีเทเรซาได้รับอนุญาตเป็นพิเศษให้ไปทำงานในสลัมได้ แต่ก่อนนั้นต้องให้มีความรู้เพียงพอเสียก่อน ซึ่งเธอก็ได้เดินทางไปศึกษาวิชาพยายาลที่โรงพยาบาลแห่งหนึ่งในเมืองปัตนา รัฐพิหาร เมื่อศึกษาจบแม่ชีเทเรซาก็ได้ก่อตั้งโรงเรียนกลางแจ้งในสลัม มีเด็กๆ ให้ความสนใจมาเรียนกันมามากมาย หลังจากนั้นไม่นานก็เริ่มมีศิษย์เก่าจากโรงเรียนสตรีเซนต์มาเรียมาขอบวชเป็นผู้ช่วยแม่ชีเทเรซา โดยคนแรกที่มาขอบวช คือ "สวาชินี ดาส" เมื่อบวชแล้วได้รับสมญาทางศาสนาว่า "แม่ชีแอ็กเนส" และไม่นานก็มีศิษย์เก่ามาบวชเพิ่มอีกถึง 10 คน
วันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2493 (ค.ศ. 1950) บาทหลวงใหญ่ได้ตั้งกลุ่มของแม่ชีเทเรซาให้เป็นองค์กรอิสระทางศาสนา มีชื่อว่า "คณะมิชชันนารีแห่งความรักของพระเจ้า" (Missionaries of Charity) โดยแม่ชีเทเรซาได้เป็นหัวหน้าองค์กร ซึ่งนับตั้งแต่นั้นมาผู้คนส่วนใหญ่มักเรียกแม่ชีเทเรซาว่า คุณแม่เทเรซา (Mother Teresa)
วันหนึ่งแม่ชีเทเรซาได้คิดที่จะสร้างบ้านหลังหนึ่ง เพื่อให้ผู้หิวโหยที่นอนรอความตายอยู่ข้างถนนนั้นได้มานอนตายอย่างสงบ และด้วยเหตุนี้ท่านจึงขอยืมให้วัดกาลีของศาสนาฮินดูใช้เป็น "บ้านของผู้รอความตาย" (Home for the Dying) โดยเริ่มเปิดใช้ในปี พ.ศ. 2495 (ค.ศ. 1952) แต่ชาวฮินดูพอสมควรที่ไม่เห็นด้วยกับการที่คุณแม่เทเรซาซึ่งเป็นชาวคริสต์ จะมาใช้วัดของชาวฮินดูเป็นสถานที่ แต่เมื่อผู้บัญชาการตำรวจเข้าไปคุยกับคุณแม่เทเรซา ก็ได้ผลสรุปว่าคุณแม่เทเรซายังใช้สถานที่วัดกาลีอยู่ได้ต่อ
พ.ศ. 2498 (ค.ศ. 1955) มีผู้ใจบุญบริจาคบ้านให้แก่คณะมิชชันนารีแห่งความรักของพระเจ้า เพื่อให้ทางคณะฯ ได้ใช้งานบ้านให้เป็นประโยชน์ต่อคุณแม่เทเรซาและส่วนรวม คุณแม่เทเรซาได้ตัดสินใจใช้บ้านหลังนี้ในการรับเลี้ยงเด็กกำพร้า ตั้งชื่อว่า "บ้านเด็กใจบุญ" (Children's Home of the Immaculate Heart)
พ.ศ. 2500 (ค.ศ. 1957) คุณแม่เทเรซาเริ่มใช้รถพยาบาลเคลื่อนที่ออกรักษาผู้ป่วยที่เป็นชาวไร่ชาวนา โดยโรคที่ชาวไร่ชาวนาป่วยมากที่สุดคือ โรคเรื้อน แต่ในช่วงนั้นสังคมอินเดียยังมองเห็นผู้ป่วยโรคเรื้อนเป็นสิ่งน่ารังเกียจ ผู้ป่วยโรคเรื้อนจึงคิดว่าคนเองไม่มีค่า คุณแม่เทเรซาจึงเริ่มคิดถึงปัญหานี้
พ.ศ. 2508 (ค.ศ. 1965) ที่ทำการของแม่ชีเทเรซาที่อยู่นอกประเทศอินเดียเริ่มเปิดทำการ มีทั้งในยุโรป อเมริกา ออสเตรเลียไม่กี่ปีต่อมา ผู้ว่าการรัฐเบงกอลตะวันตกได้ให้คุณแม่เทเรซายืมใช้แปลงที่ดินที่เมืองอาซันซอลขนาด 140,000 ตารางเมตร (ประมาณ 87.5 ไร่) เพื่อให้ใช้เป็นสถานสงเคราะห์ผู้ป่วยโรคเรื้อน คุณแม่เทเรซาได้แบ่งสรรที่ดินไว้อย่างลงตัว แต่ไม่มีเงินจะสร้างสิ่งปลูกสร้างที่ได้ออกแบบไว้ คุณแม่เทเรซานั่งครุ่นคิดอยู่สักพักก็นึกขึ้นได้ว่าพระสันตะปาปาเคยมอบรถยนต์เปิดประทุนสีขาวบริสุทธิ์ชั้นดี ถ้าขายเฉยๆ จะได้ราคา 100,000 รูปี (ประมาณ 400,000 บาท) แต่นั่นยังไม่เพียงพอ คุณแม่เทเรซาตัดสินใจทำสลาก โดยเอารถคันนั้นเป็นรางวัล ทำสลาก 5,000 ใบ ขายสลากใบละ 100 รูปี (ประมาณ 400 บาท) ใครถูกรางวัลจะได้รับรถพระสันตะปาปาไป การขายสลากแบบนี้ คณะมิชชันนารีของคุณแม่เทเรซา ได้รับเงินถึง 500,000 รูปี (ประมาณ 2,000,000 บาท) ในที่สุดคณะมิชชันนารีของคุณแม่เทเรซาก็ได้สร้างที่ดินขนาดกว่า 80 ไร่ ให้เป็นหมู่บ้านในฝันของผู้ป่วยโรคเรื้อนได้สำเร็จใน พ.ศ. 2511 (ค.ศ. 1968) ตั้งชื่อว่า "หมู่บ้านสันติสุข" มีทั้งโรงพยาบาลและที่อยู่ทั้งสำหรับเหล่าแม่ชีและเหล่าผู้ป่วย มีผู้ป่วยโรคเรื้อนขอเข้ารับการรักษาที่หมู่บ้านสันติสุขนี้มากกว่า 15,000 คน
ไม่นานหลังจากนั้น แม่ชีเทเรซา ก็เปิดที่ทำการอีกแห่งหนึ่ง คราวนี้เป็นการนำกาบมะพร้าวมีรีไซเคิล โดยนำใยมะพร้าวด้านในมาผลิตเป็นสินค้า ตั้งแต่แปรงขัดหม้อ จนถึงพรมนุ่มๆ สินค้าบางชิ้นมีคุณภาพดี ก็สามารถนำไปขายในเมืองไดhไม่นานต่อมา คุณแม่เทเรซาเมื่อรู้ว่า สายการบินต่างๆ จะจัดการอาหารที่ผู้โดยสารกินเหลือโดยการทิ้งทั้งหมด จึงไปขอให้บริษัทสายการบินแอร์อินเดีย มอบอาหารที่ผู้โดยสารกินเหลือมาเป็นอาหารแก่เด็กๆ ใน บ้านเด็กใจบุญ
พ.ศ. 2522 (ค.ศ. 1979) คุณแม่เทเรซาได้รับเกียรติให้รับรางวัลโนเบล สาขาสันติภาพ ในฐานะ "สำหรับการอาสาต่อสู้เพื่อลดความยากจนทุกข์ยากซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการนำไปสู่ความสงบสุขและสันติ" (for work undertaken in the struggle to overcome poverty and distress, which also constitute a threat to peace.) นอกจากนี้ คุณแม่เทเรซาปฏิเสธงานเลี้ยงฉลองที่ท่านได้รับรางวัลโนเบล และขอใหผู้ที่ทำเค้กฉลองมาแล้ว นำเค้กไปมอบให้คนยากคนจน
คุณแม่เดินทางไปเยือนประเทศญี่ปุ่นในปี พ.ศ. 2524 (ค.ศ. 1981) ซึ่งก็ได้ตระเวนปราศรัยไปตามที่ต่างๆ ในประเทศ เนื้อหาส่วนใหญ่คือ ความเหลื่อมล้ำในสังคม การรังเกียจคนจรจัด การกลั่นแกล้งประทุษร้ายกันในญี่ปุ่นพ.ศ. 2525 (ค.ศ. 1982) อิสราเอลมีสงครามกับองค์กรปลดปล่อยปาเลสไตน์ จนเกิดการสู้รบรุนแรงในแถบเอเชียตะวันตก คุณแม่เทเรซาก็เดินทางเข้าไปเพื่อช่วยเหลือเด็กๆ ที่ติดค้างในสถานที่ต่างๆ มาได้ 37 คน
ปั้นปลายชีวิต
พ.ศ. 2526 (ค.ศ. 1983) ขณะคุณแม่เทเรซาไปเยี่ยมสถานสงเคราะห์แห่งหนึ่งในอิตาลี ทานก็เริ่มป่วยเป็นโรคหัวใจ และมีอาการกำเริบครั้งแรก โดยมีหัวใจเต้นอ่อนเกินไป แต่ปลอดภัย หลังจากนั้น คุณแม่เทเรซาก็ทำงานอยู่เหมือนปกติ แต่อาการโรคหัวใจก็มาเยือนอยู่เรื่อยๆ จนในที่สุด คุณแม่เทเรซา ได้ยื่นจดหมายต่อพระสันตะปาปา ว่า ขอลาออกจากตำแหน่งหัวหน้าคณะมิชชันนารีแห่งความรักของพระเจ้า พร้อมกับอยากให้มีการเลือกตั้งขึ้นเพื่อเลือกผู้ที่จะมาสืบทอดตำแหน่งจากตน ตอนแรกเหล่าแม่ชีต่างคัดค้าน แต่เมื่อรู้ว่าคุณแม่เทเรซาจะให้จัดการเลือกตั้งผู้สืบทอดตำแหน่ง จึงเทคะแนนเสียงให้คุณแม่เทเรซา แล้วผลการเลือกตั้งก็คือ คุณแม่เทเรซาก็ได้รับเลือกตั้งกลับมาเป็นหัวหน้าคณะฯ อีกครั้ง
การทำงานของท่านก็มีอาการโรคหัวใจกำเริบมารบกวนท่านบ่อยขึ้น อาการป่วยในระดับหนักมากเกิดขึ้นกับแม่ชีเทเรซาอีกใน พ.ศ. 2532 (ค.ศ. 1989) และอีกครั้งใน พ.ศ. 2539 (ค.ศ. 1996) หลังจากนั้น คุณแม่เทเรซา ก็ป่วยหนักถึงขนาดล้มหมอนนอนเสื่อ ลุกนั่งไม่ได้
คุณแม่เทเรซาป่วยเป็นโรคหัวใจ และต้องเข้าโรงพยาบาลถึง 2 ครั้ง มิใช่เป็นครั้งแรกที่คุณแม่เทเรซาตรากตรำทำงานหนักจนถึงขั้นหมดเรี่ยวแรง และต้องถูกส่งโรงพยาบาล แม้สมเด็จพระสันตะปาปา ก็ยังทรงขอร้องคุณแม่ให้ดูแลเอาใจใส่สุขภาพของตัวเธอเองบ้าง แพทย์คอยตรวจสอบเธอเป็นระยะ ๆ แล้วยังสั่งให้คุณแม่พักรักษาตัวเป็นเวลา 6 เดือนในวันที่ 16 เมษายน 1990 คุณแม่เทเรซาลาออกจากตำแหน่งคุณแม่มหาธิการิณีของคณะธรรมทูตแห่งเมตตาธรรม เนื่องจากสุขภาพไม่ดี เมื่อผ่อนคลายจากภาระรับผิดชอบต่าง ๆ แล้ว คุณแม่เทเรซาก็สามารถเดินทางไปเยี่ยมบ้านซิสเตอร์ของคณะในที่ต่าง ๆ ได้มากขึ้น
เดือนกันยายน 1990 คุณแม่เทเรซาได้รับการเรียกร้องให้พักจากการเกษียณและได้รับเลือกเป็นมหาธิการิณีของคณะธรรมทูตแห่งเมตตาธรรมอีกครั้ง เนื่องจากบรรดาซิสเตอร์ทราบเป็นอย่างดีถึงอัจฉริยภาพความเป็นผู้นำฝ่ายจิตของคุณแม่เทเรซาในคณะซิสเตอร์ ธรรมทูตแห่งเมตตาธรรม จึงได้เลือกคุณแม่เป็นผู้นำอีกครั้งหนึ่ง แม้ว่าคุณแม่จะมีอายุ 80 ปีและสุขภาพไม่สู้ดีนักก็ตามในปี 1997 คุณแม่เทเรซา ได้ลาออกจากผู้นำคณะ เนื่องจากเจ็บป่วยมาก ในวันที่ 13 มีนาคม ซิสเตอร์นิรุมารา ได้รับเลือกเป็นผู้นำคณะคนใหม่
วันที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2540 (ค.ศ. 1997) คุณแม่เทเรซาได้เสียชีวิตลงที่บ้านของคุณแม่ในอินเดีย ขณะอายุ 87 ปี กับอีก 10 วัน โดยคำพูดคำสุดท้ายที่คุณแม่ได้พูดออกมาคือ "หายใจไม่ออกแล้ว" ทางการอินเดียได้จัดพิธีศพของคุณแม่เทเรซาอย่างยิ่งใหญ่ เป็นงานศพระดับชาติ (งานศพของบุคคลที่ทุ่มเทอุทิศตนเพื่อประเทศนั้นๆ) ของทางการอินเดีย
ในช่วงเวลาที่คุณแม่เสียชีวิต คณะมิชชันนารีแห่งความรักของพระเจ้ามีแม่ชีมากว่า 4,000 คนและอาสาสมัครกว่าอีก 1 แสนคน ซึ่งอัตรานี้ครอบคลุมไปถึงกว่า 610 แห่ง 123 ประเทศทั่วโลก ปัจจุบันร่างของแม่ชีนอนหลับอยู่ที่บ้านคุณแม่ในอินเดีย เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2546 (ค.ศ. 2003) สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์น ปอล ที่ 2 ได้ประกาศให้คุณแม่เป็น นักบุญราศี
อนุเสาวรีย์แม่ชีเทเรซา ในอัลบาเนีย ถ่ายเมื่อ พ.ศ. 2550
สถานที่เกิดของแม่ชีเทเรซา ปัจจุบันมีป้ายบ่งบอกไว้อย่างชัดเจนในเมืองสโกเปีย
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)